กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร


“ โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต บ้านแหร

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4120-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านแหร อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4120-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านแหร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติมโต แข็งแกร่ง ยังยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลััก เพื่อให้ได้คุณภาพชีิวิตทีดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์ เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ๋ในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดุแลส่งเสริมสุยภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดุอย่างเหมาะสม เพื่อให้เติมโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของตำบลบ้านแหร บรรลุตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ ส่งผลสูงสุดต่อประชาชนผู้รับบริการทั้งแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแหร และองค์กรในชุมชนทุกภาคส่วน จึงร่วมกันจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และจัดทำโครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กประจำปี 2562 เพื่อบรรลุตัวชี้วัดการแก้ไขปัญหาสุขภาพแม่และเด็ก รักษาสภาพการประเมินงานมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก และผ่านเกณฑ์การประเมินตำบลนมแม่ในอนาคต ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
  2. เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุรภาพตามมาตรฐานดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก และมาตรฐานดำเนินงานตำบลนมแม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรุ้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดการมีส่วนร่วมและได้รับความร่วมมือจากเครือข่ายองค์กรชุมชนและองค์กรชุมชนและ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและพัมนาอนามัยแม่และเด็ก 2.อสม.และแกนนำอนามัยแม่และเด็ก มีบทบาทในการส่งเสริมสุขภาพแมและเด็กสามารถถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.ผ่านเกรฑ์การประเมินของตัวชี้วัดงานอนามัยแม่และเด็ก 4.หญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแล ตนเองและเตรียมตัวตั้งครรภ์อย่างถูกต้องเหมาะสม 5.หญิงมีครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและมีพฤติกรรมในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง ขณะตั้งครรภ์ ตลอดจนหลังคลอด 6.ชุมชนตื่นตัวและตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรุ้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 16 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาร ในการดำเนินงานจากองคืการบริหารส่วนตำบลบ้านแหร 2.คัดเลือกและออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตำบลนมแม่/แกนนำงานอนามัยแม่และเด็กและกำหนดวาระการประชุมกรรมการ 3.แต่งตั้งคณะทำงาน ดำเนินงานโครงการ และแต่งตั้งคณะทำงานประชาสัมพันธ์ 4.การจัดสื่อ ประชาสัมพันธ์อนามัยแม่และเด้ก และกิจกรรมรณรงค์ใช้สื่อสาธารณะ ดังนี้ หอกระจายข่าว,มัสยิด, สัปดาห์ละ 1 ครั้ง/ป้ายประชาสัมพันธ์ 5.จัดอบรมให้ความรู้เรื่องงานอนามัยแม่และเด็กในรูแบบ การจัดประชุม/อบรมตามกลุ่มเป้าหมายและหลักสูตร ต่างๆดังนี้ - การจัดอบรมใให้ความรู้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ในกลุ่มหญิงมีครรภ์และแกนนำสตรี หญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี และนักเรียนหญิง ชั้น ม.6 และชั้นศาสนาตอนปลายในโรงเรียนมัธยม รวมจำนวน เป้าหมาย 150 คน 6.จัดงาน กิจกรรมการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการประกวดแม่ตัวอย่างเพื่อการรณรงค์เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และคัดเลือก การยกย่องประกาศเกี่ยรติคุณ แก่แม่ตัวอย่าง/ครอบครัวตัวอย่างในเดือน สิงหาคม 2562 7.รพ.สต จัดทำมาตรฐานการดูแลในช่วงก่อนตั้งครรภืขณะตั้งครรภ์/คลอด/สุขภาพเด็กดี (WCC) เพื่อประเมินส่วนขาด พัฒนาตามมาตรฐาน MCH 8.รพ.สต.จัดมุม/จัดห้อง ANC/WCC ประชาสัมพันธ์และรายงานผลการดำเนินงาน 9.การติดตามเยี่ยมบ้านเชิงรุก การออกให้บริการฝากครรภ์นอกสถานที่ และติดตามเยี่ยมหลั้งคลอด 10. ประเมินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากโครงการดังกล่าวเกิดการสานต่อและสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการคงไว้ซึ่งมาตรฐานและคุณภาพการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก แรกเกิดด้วยการสานต่ออาสาสมัคร โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักจากเครือข่ายของแต่ละหมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบของ รพ.สต ซึงเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อน สานต่อด้วยการประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายหลัก ซึ่่งได้แก่ นักเรียนหญิง ชั้น ม.6 และนักเรียนชั้นศาสนาตอนปลายในโรงเรียนมัธยม หญิงตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี รวมถึงหญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด ซึ่งกลุ่มเป้าหมายตัวแทนจาก 7 หมู่บ้านในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบซึ่งเป็นเน้นย้ำในกลุ่มเป้าหมายที่เคนตั้งครรภ รวมถึงการปูทางสู่การเตรียมสู่การเข้าสู๋วัยตั้งครรภ์ในภายภาคหน้า การให้ความรู้นั้นซึ่งหัวข้อหลักๆนั้นได้สอบถามจากการทำประชาคม เพื่อตอบสนองความต้องการของเป้าหมายจริงๆ โดยได้รับเกี่ยรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญแผนกครรภ์คุณชฏาพร กองแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จาก รพ.สต บ้านคอกช้างและคนอื่นๆอีกมากมาย จากการดำเนินงานตามตัวชี้วัดวนปี 2562 ที่ผ่านมานั้นสามารถสรุปผลการดำเนินงานตลอดปีได้ดังนี้ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 117 รายมีภาวะเสี่ยง 22 ข้อ จำนวน 107 รายคิดเป็นร้อยละ 91.45 เสี่ยงสูงโรคจำนวน 79 รายคิดเป็นร้อยละ 67.52 และเป็นโรคเสี่ยงสูง 5 โรค จำนวน 9 รายคิดเป็นร้อยละ 7.69 ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 88.03 ตามตัวชี้วัด >60% หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดครั้งแรก ที่มาฝากครรภ์ร้อยละ 21.36 ตามตัวชี้วัด 60% ได้รับยาเสริมไอโอดีนร้อยละ 99.41 ตามตัวชี้วัด >100% ดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 87.5 ตามตัวชี้วัด >65% น้ำหนักแรกเกิดคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 4.08 ตามตัวชี้วัด 50% หญิงตั้งครรภ์ต้องไปทำงานต่างถิ่นร่วมกับสามีร้อยละ 7.69 สามีทำงานต่างถิ่นร้อยละ 12.8 หญิงตั้งครรภ์มีความเครียดทางเศรษฐกิจขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 8.54

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากโครงการดังกล่าวเกิดการสานต่อและสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนและพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดการคงไว้ซึ่งมาตรฐานและคุณภาพการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็ก แรกเกิดด้วยการสานต่ออาสาสมัคร โดยมีกลุ่มเป้าหมายหลักจากเครือข่ายของแต่ละหมู่บ้านในเขตความรับผิดชอบของ รพ.สต ซึงเป็นแกนนำหลักในการขับเคลื่อน สานต่อด้วยการประชุมชี้แจงให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายหลัก ซึ่่งได้แก่ นักเรียนหญิง ชั้น ม.6 และนักเรียนชั้นศาสนาตอนปลายในโรงเรียนมัธยม หญิงตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์ที่อยู่กินกับสามี รวมถึงหญิงตั้งครรภ์ และหลังคลอด ซึ่งกลุ่มเป้าหมายตัวแทนจาก 7 หมู่บ้านในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบซึ่งเป็นเน้นย้ำในกลุ่มเป้าหมายที่เคนตั้งครรภ รวมถึงการปูทางสู่การเตรียมสู่การเข้าสู๋วัยตั้งครรภ์ในภายภาคหน้า การให้ความรู้นั้นซึ่งหัวข้อหลักๆนั้นได้สอบถามจากการทำประชาคม เพื่อตอบสนองความต้องการของเป้าหมายจริงๆ โดยได้รับเกี่ยรติจากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญแผนกครรภ์คุณชฏาพร กองแก้ว พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ จาก รพ.สต บ้านคอกช้างและคนอื่นๆอีกมากมาย จากการดำเนินงานตามตัวชี้วัดวนปี 2562 ที่ผ่านมานั้นสามารถสรุปผลการดำเนินงานตลอดปีได้ดังนี้ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ 117 รายมีภาวะเสี่ยง 22 ข้อ จำนวน 107 รายคิดเป็นร้อยละ 91.45 เสี่ยงสูงโรคจำนวน 79 รายคิดเป็นร้อยละ 67.52 และเป็นโรคเสี่ยงสูง 5 โรค จำนวน 9 รายคิดเป็นร้อยละ 7.69 ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ก่อน 12 สัปดาห์ ร้อยละ 88.03 ตามตัวชี้วัด >60% หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดครั้งแรก ที่มาฝากครรภ์ร้อยละ 21.36 ตามตัวชี้วัด 60% ได้รับยาเสริมไอโอดีนร้อยละ 99.41 ตามตัวชี้วัด >100% ดูแลหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ร้อยละ 87.5 ตามตัวชี้วัด >65% น้ำหนักแรกเกิดคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 4.08 ตามตัวชี้วัด 50% หญิงตั้งครรภ์ต้องไปทำงานต่างถิ่นร่วมกับสามีร้อยละ 7.69 สามีทำงานต่างถิ่นร้อยละ 12.8 หญิงตั้งครรภ์มีความเครียดทางเศรษฐกิจขณะตั้งครรภ์ร้อยละ 8.54

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
ตัวชี้วัด : บูรณาการส่งเสริมสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุรภาพตามมาตรฐานดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก และมาตรฐานดำเนินงานตำบลนมแม่
ตัวชี้วัด : พัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุรภาพตามมาตรฐานดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก และมาตรฐานดำเนินงานตำบลนมแม่
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการบูรณาการส่งเสริมสุขภาพงานอนามัยแม่และเด็กโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม (2) เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการงานอนามัยแม่และเด็กให้ได้คุรภาพตามมาตรฐานดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก และมาตรฐานดำเนินงานตำบลนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรุ้ เรื่องการอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562

รหัสโครงการ 62-L4120-01-01 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการสนับสนุนการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4120-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต บ้านแหร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด