โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 6 มิถุนายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | - |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 45,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.542,100.388place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) องค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ได้ร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) จัดตั้งระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ขึ้น โดยกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี ดำเนินการเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการอื่นโดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตเพื่อส่งเสริมกลุ่มแม่และเด็กกลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มผู้พิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อยู่ในตำบลคลองรี สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพและเพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กรประชาชนในตำบลคลองรี จัดทำกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคหรือการฟื้นฟูสมรรถภาพให้แก่ประชาชนในตำบลคลองรี โดยมีคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี ทำหน้าที่ในการบริหารจัดการกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบของกองทุนฯ ดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งกองทุนฯ โดยกำหนดเป้าหมายงานกองทุนสุขภาพตำบลและแนวทางดำเนินงานมานั้น จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองรี ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1. เพื่ออนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ ตลอดจนการติดตามการดำเนินงานฯ อย่างต่อเนื่อง ข้อ 2 เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงานของกองทุนฯ ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.มีการประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ เพื่อพิจารณาและติดตามงาน 3 ครั้ง/ปี 2.โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณารอย่างน้อย 80% มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน |
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
ขั้นตอนการวางแผน 1.ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทำงาน 2.กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย 2.จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน อาหารว่างและเครื่องดื่ม อาหารกลางวัน 3.จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 4.จัดซื้อครุภัณฑ์ - วัสดุ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานกองทุนฯ ดำเนินการจัดประชุมตามแผนและวาระที่กำหนด 1.จัดประชุมคณะกรรมการฯ 3 ครั้ง/ปี 2.จัดประชุมคณะอนุกรรมการฯ 2 ครั้ง/ปี 3.ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริหารดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำนวน 2 ครั้ง 4.สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ
- 1.แผนงานโครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- 2.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีหรือทรัพย์ของกองทุนฯเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
- 3.การบริการจัดการกองทุน และการดำเนินงานของกองทุนมีประสิทธิภาพ และบรรลุตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งกองทุน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2562 14:06 น.