โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
การฝากครรภ์เป็นมาตรการหนึ่งในการบริบาลและเฝ้าระวังความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ไปรับบริการดูแลครรภ์จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย 5 ครั้ง และควรไปฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทั้งนี้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวม รวมทั้งมารดาได้รับการตระเตรียมในการเลี้ยงดูทารกที่จะเกิดมา ย่อมส่งผลต่อคุณภาพเด็ก ไทยในอนาคต จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการฝากครรภ์ ได้แก่ ระบบบริการ การคมนาคม การย้ายถิ่นที่อยู่ ค่าใช้จ่าย และภาระงาน ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้ไปฝากครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในเขต หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลสะเอะ พบว่าที่ผ่านมาในปี 2561 มีหญิงตั้งครรภ์ 70 คน ได้รับการดูแลครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 49 คน คิดเป็นร้อยละ 70 และดูแลครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 47คน คิดเป็นร้อยละ 67.14หากหญิงตั้งครรภ์เข้าถึงบริการฝากครรภ์เร็ว จะช่วยลดอันตรายจากภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ได้ โดยให้เครือข่ายสุขภาพค้นหาหญิงตั้งครรภ์ให้มาฝากเร็วและอย่างต่อเนื่องที่หน่วยบริการ ซึ่งย่อมเป็นผลดีแก่สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกที่จะเกิดมาและได้ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ได้เร็วโดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ 21 ข้อ
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์
- กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด
- .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ร้อยละ 90
2.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ จนกระทั่งหลังคลอดร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมที่ 1 สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กิจกรรมที่ 1 สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก 21 ข้อ ทุกราย ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินคัดกรอง ร้อยละ 100
50
0
2. กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
2.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
ร้อยละ 90
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากกิจกรรมประชุมให้ความรู้ใช้วิธีบรรยาย และสาธิตตอบกลับ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยมีเนื้อหาดังนี้
โดยวิธีบรรยาย
-สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก
-ความสำคัญเรื่องการฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์
แบ่งฐานความรู้ 3 ฐาน
-การปฏิบัติตนของหญิงตั้งครรภ์และภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์
-ประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
-ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
รวมกลุ่ม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเรื่องโครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์
50
0
3. .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
3.ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากผลการดำเนินงาน โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง และสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต
ดังนั้นจากผลการดำเนินงานเมื่อเกิดอาการหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆดังกล่าว ควรต้องรีบกลับไปโรงพยาบาลที่ทำคลอด หรือ ถ้าคลอดเองที่บ้าน ต้องรีบไปโรงพยาบาลเช่นกัน ไม่ควรรอดูแลตนเอง เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ และอาจรุนแรงมากขึ้นจนส่งผลให้การรักษายุ่งยากซับซ้อนขึ้นได้
กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. และแกนนำสุขภาพ และติดตามเยี่ยมบ้านมารดาและทารก โดยใช้วิธีการสอนอย่างมีแบบแผน อันจะนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาการ โดยเน้นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องจะช่วยให้มารดาและทารกหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ร้อยละ90
1.00
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : .หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
ร้อยละ 90
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ (2) กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด (3) .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารีแย สะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารีแย สะอะ
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-05 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4114-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 กรกฎาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การฝากครรภ์เป็นมาตรการหนึ่งในการบริบาลและเฝ้าระวังความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนของหญิงตั้งครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด กระทรวงสาธารณสุขได้แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ไปรับบริการดูแลครรภ์จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างน้อย 5 ครั้ง และควรไปฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ ทั้งนี้เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนและอัตราการตายของมารดาและทารกในภาพรวม รวมทั้งมารดาได้รับการตระเตรียมในการเลี้ยงดูทารกที่จะเกิดมา ย่อมส่งผลต่อคุณภาพเด็ก ไทยในอนาคต จากการศึกษาพบว่าปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการฝากครรภ์ ได้แก่ ระบบบริการ การคมนาคม การย้ายถิ่นที่อยู่ ค่าใช้จ่าย และภาระงาน ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้ไปฝากครรภ์ ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในเขต หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 ตำบลสะเอะ พบว่าที่ผ่านมาในปี 2561 มีหญิงตั้งครรภ์ 70 คน ได้รับการดูแลครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ 49 คน คิดเป็นร้อยละ 70 และดูแลครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 47คน คิดเป็นร้อยละ 67.14หากหญิงตั้งครรภ์เข้าถึงบริการฝากครรภ์เร็ว จะช่วยลดอันตรายจากภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ได้ โดยให้เครือข่ายสุขภาพค้นหาหญิงตั้งครรภ์ให้มาฝากเร็วและอย่างต่อเนื่องที่หน่วยบริการ ซึ่งย่อมเป็นผลดีแก่สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกที่จะเกิดมาและได้ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ได้เร็วโดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ 21 ข้อ กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น เพื่อนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์
- กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด
- .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ร้อยละ 90
2.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์ จนกระทั่งหลังคลอดร้อยละ 90
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำกิจกรรมที่ 1 สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกิจกรรมที่ 1 สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้เกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก 21 ข้อ ทุกราย ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ได้รับการประเมินคัดกรอง ร้อยละ 100
|
50 | 0 |
2. กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ2.หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ร้อยละ 90 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมประชุมให้ความรู้ใช้วิธีบรรยาย และสาธิตตอบกลับ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยมีเนื้อหาดังนี้ โดยวิธีบรรยาย -สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก -ความสำคัญเรื่องการฝากครรภ์และภาวะเสี่ยงในหญิงตั้งครรภ์ แบ่งฐานความรู้ 3 ฐาน -การปฏิบัติตนของหญิงตั้งครรภ์และภาวะเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ -ประโยชน์ของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ -ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด รวมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลเรื่องโครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์
|
50 | 0 |
3. .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน |
||
วันที่ 26 สิงหาคม 2562กิจกรรมที่ทำ3.ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากผลการดำเนินงาน โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง และสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ที่ดีในอนาคต ดังนั้นจากผลการดำเนินงานเมื่อเกิดอาการหรือมีภาวะแทรกซ้อนต่างๆดังกล่าว ควรต้องรีบกลับไปโรงพยาบาลที่ทำคลอด หรือ ถ้าคลอดเองที่บ้าน ต้องรีบไปโรงพยาบาลเช่นกัน ไม่ควรรอดูแลตนเอง เพราะอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ และอาจรุนแรงมากขึ้นจนส่งผลให้การรักษายุ่งยากซับซ้อนขึ้นได้ กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลกรงปินัง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการนี้ขึ้น โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. และแกนนำสุขภาพ และติดตามเยี่ยมบ้านมารดาและทารก โดยใช้วิธีการสอนอย่างมีแบบแผน อันจะนำไปสู่บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาการ โดยเน้นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องจะช่วยให้มารดาและทารกหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ตัวชี้วัด : ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ร้อยละ90 |
1.00 |
|
||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : .หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ร้อยละ 90 |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 50 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจและคัดกรองหญิงตั้งครรภ์ โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงตามเกณฑ์ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ (2) กิจกรรมประชุมให้ความรู้ เรื่องการดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้กับหญิงหลังคลอด (3) .ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยง เพื่อติดตามอาการและดูวิธีการปฏิบัติตัวหลังคลอด โดยแกนนำสุขภาพในชุมชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการติดตามและประเมินสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 62-L4114-01-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารีแย สะอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......