กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคติดต่อ ปี 2562
รหัสโครงการ L62-L5254-(1)
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง
วันที่อนุมัติ 2 เมษายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 52,267.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนเรศ ดวงยอด
พี่เลี้ยงโครงการ ว่าที่ร้อยตรีหญิงปริญญา ปานแก้ว
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.6098264568549,100.8223065652place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง ประกอบด้วยหมู่ที่ ๑,๗ และ ๘ พบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรียในปี เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก และ โรคไข้มาลาเรียมาอย่างต่อเนื่อง โดยมีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ในปี ๒๕๖๐ เท่ากับ ๗๐.๒๙ต่อ แสนประชากร (๘ราย) และ ๓.๓๒ ต่อพันประชากร(๑๙ ราย) ตามลำดับ ตามลำดับ (ที่มา : จากรายงานการระบาดอำเภอสะบ้าย้อย) ไม่มีผู้ป่วยตายในพื้นที่ตำบลคูหา และ ในปี๒๕๖๑ เท่ากับ ๔๒.๔๘ ต่อ แสนประชากร (๒ ราย) และ ๑.๑ ต่อพันประชากร(๕ราย) ตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตายในพื้นที่ตำบลคูหา จักเห็นได้ว่าอัตราป่วยมีแนวโน้มลดลง ซึ่งเป็นผลจากการดำเนินโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทัพหลวง โดยได้รับการสนับสนุนเงินจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคูหา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน

ร้อยละ80 ของประชาชนป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชนลดลง

80.00 1.00
2 เพื่อป้องกันอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชน

ร้อยละ90ของอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้มาลาเรียของประชากรในชุมชนลดลง

90.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 52,267.00 0 0.00
??/??/???? ค่าจ้างพ่นหมอกควันในหมู่บ้าน 0 15,840.00 -
??/??/???? ค่าจ้างพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในโรงเรียน 0 2,880.00 -
??/??/???? ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงพ่นหมอกควัน 0 29,497.00 -
??/??/???? ค่าสเปรย์พ่นยุงเพื่อควบคุมโรคในบ้านผู้ป่วย 0 2,550.00 -
??/??/???? ค่าน้ำดื่มในการจัดกิจกรรมรณรงค์ครั้งใหญ่ในหมู่บ้าน 0 1,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. อัตราป่วยไข้เลือดออกปี 2562 ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานปี 57-61
  2. หมู่บ้าน / ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
  3. อัตราป่วยไข้มาลาเรียปี 2562 ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐานปี 57-61
  4. หมู่บ้าน / ชุมชนสามารถควบคุมโรคไข้มาลาเรียได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
  5. สภาพแวดล้อมของหมู่บ้านมีความสะอาดขึ้น
  6. สถานบริการ โรงเรียน วัด มัสยิด ครัวเรือน ปลอดลูกน้ำยุงลาย (สุ่มประเมินผล HICI )2
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2562 00:00 น.