กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L6895-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 60,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภัยพิบัติ (Disaster) หมายถึง ปรากฎการณ์ที่ทำให้เกิดการหยุดชะงักอย่างรุนแรงของการปฏิบัติหน้าที่ของชุมชนหรือสังคม โดยก่อให้เกิดความสูญเสียของมนุษย์ วัตถุ เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวาง ซึ่งเกินกว่าความสามารถของชุมชนหรือสังคมที่ได้รับผลกระทบดังกล่าวจะรับมือได้โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ภัยพิบัติแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึ้น (MRC, 2556) สถานการณ์และแนวโน้มของภัยพิบัติในประเทศไทยปัจจุบันที่มีทั้งอุทกภัย วาตภัย ภัยจากไฟป่า แผ่นดินไหว ภัยแล้ง โรคระบาด และภัยอื่น เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนชื้นที่ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม และพายุหมุนเขตร้อน ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในลักษณะเป็นศูนย์กลางของภาคพื้นเอเชีย-ตะวันออกเฉียงใต้ จึงมีเขตแดนติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านหลายประเทศที่มีเหตุการณ์ไม่สงบสุข ทำให้เกิดปัญหาของภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย์ เช่น ภัยจากกับระเบิด ภัยจากการอพยพ/ย้ายถิ่นฐานอย่างผิดกฎหมาย ภัยจากการก่อการร้าย เป็นต้น นอกจากนั้น การพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจและด้านอุตสาหกรรม ได้ก่อให้เกิดภัยพิบัติจากการกระทำของมนุษย์อีกหลายประการ เช่น ภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตราย ภัยจากการคมนาคมและขนส่ง อัคคีภัย เป็นต้น ซึ่งภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นดังกล่าวข้างต้น มีระดับความรุนแรง ความล่อแหลม ความเสี่ยงภัย และการบริหารจัดการ (ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม, 2556) ภัยพิบัติสามารถส่งผลกระทบต่อความเสียหายทางกายภาพที่เห็นได้ชัดเจน เช่น เสียชีวิต บาดเจ็บ ไร้ที่อยู่ ขาดที่ทำกิน พิการ อุปกรณ์การทำงานสูญหาย กระทบต่อสภาพสังคม วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต รวมทั้งมีผลกระทบต่อจิตใจของผู้ประสบภัย นอกจากนี้ภัยพิบัติทำให้เกิดโรคระบาดหรือโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคติดต่อที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ โรคติดต่อที่นำโดยแมลง โรคติดต่อที่เกิดจากซากศพ โรคอื่นๆ ที่เป็นผลจากภัยพิบัติ ทางศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง จึงร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองกันตัง จัดทำโครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562 ขึ้น เพื่อรับมือโรคระบาดหรือภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นต่อไปในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองกันตัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ได้
  2. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดและส่งเสริมสุขภาวะแก่ประชาชนเมื่อประสบภัยพิบัติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. แก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,137
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ได้
  2. ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาด และส่งเสริมสุขภาวะแก่ประชาชนเมื่อประสบภัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. แก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสุขภาพ

วันที่ 23 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์เรื่อง การดูแลสุขภาพป้องกันภัยจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ผ่านประกาศเสียงตามสาย แผ่นไวนิลประชาสัมพัธ์
  2. ประสานแจ้งโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ ชุมชนและชมรมผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพป้องกันภัยจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก
  3. มอบหน้ากากอนามัยแก่โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ และ อสม.
  4. บริการด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก โดยมีอาการแสบตา ตาแดง น้ำมูก เจ็บคอ ไอ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง พร้อมให้สุขศึกษาการดูแลสุขภาพและแจกหน้ากากอนามัยแก่ผู้รับบริการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาสัมพันธ์เรื่อง การดูแลสุขภาพป้องกันภัยจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ผ่านประกาศเสียงตามสาย แผ่นไวนิลประชาสัมพัธ์
  2. ประสานแจ้งโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ ชุมชนและชมรมผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพป้องกันภัยจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก
  3. มอบหน้ากากอนามัยแก่โรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 ศูนย์ และ อสม.
  4. บริการด้านการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก โดยมีอาการแสบตา ตาแดง น้ำมูก เจ็บคอ ไอ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง พร้อมให้สุขศึกษาการดูแลสุขภาพและแจกหน้ากากอนามัยแก่ผู้รับบริการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดและส่งเสริมสุขภาวะแก่ประชาชนเมื่อประสบภัยพิบัติ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12137
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12,137
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรค  กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ได้ (2) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคระบาดและส่งเสริมสุขภาวะแก่ประชาชนเมื่อประสบภัยพิบัติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) แก้ไขปัญหาผลกระทบด้านสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค กรณีเกิดโรคระบาดและภัยพิบัติในพื้นที่ ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L6895-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด