กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2564
รหัสโครงการ L3015-64-05-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมตำบลบาราเฮาะ
วันที่อนุมัติ 24 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 24 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 24 กันยายน 2564
งบประมาณ 21,960.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฟารีดะห์ มะเกะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.829,101.267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคติดต่อชนิดสัตว์ติดคนที่มีอันตรายและน่าสะพรึงกลัวเป็นอย่างยิ่ง คนหรือสัตว์ ที่เป็นโรคนี้แล้วไม่มีทางรักษาให้หายได้ผู้ป่วยทุกรายจะต้องตาย ซึ่งโรคนี้จะมีพาหะที่นำโรคคือสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนม เช่น สุนัข แมว หนู เป็นต้น เมื
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ประชาชน(ตัวแทนอาสาสมัคร) มีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า 2.เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชน 3.เพื่อสร้างความตื่นตัวและกระตุ้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

1.ประชาชน(ตัวแทนอาสาสมัคร) มีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

วิธีดำเนินการ 1. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทราบและวางแผนการดำเนินงาน 2. องค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ ดำเนินการสำรวจจำนวนสุนัขและแมว ในพื้นที่ทุกหมู่บ้านในตำบลบาราเฮาะ
3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ ปศุสัตว์อำเภอ เพื่อขอรับการแนะนำสนับสนุนเจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการตามโครงการ 4. ดำเนินการจัดซื้อวัคซีน และอุปกรณ์ที่จำเป็นในการดำเนินงาน 5. จัดอบรมแกนนำประชาชนในชุมชนตำบลบาราเฮาะ จำนวน 20 คน ได้รับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ    ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้า 6. จัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อออกให้บริการประชาชนในพื้นที่ 7. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชน(ตัวแทนอาสาสมัคร) มีความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคพิษสุนัขบ้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ80 2. สามารถป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคพิษสุนัขบ้าขึ้นในชุมชนขึ้นได้ตลอดปีงบประมาณ 3. ประชาชนมีความตื่นตัวและกระตุ้นให้มีส่วนร่วมและเห็นความสำคัญในการนำสุนัข แมว
และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่อยู่ในความดูแลไปรับบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ