โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”
ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายไตรรงค์ ชูเงิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
มีนาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L7574-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2559 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือที่เรียกว่าโรควิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องมาจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรควิถีชีวิต จึงผลักดันให้เกิดความร่วมมือบูรณาการกันระหว่างหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมาย คือ การลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรควิถีชีวิตในประชาชนซึ่งไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องนั่นเอง เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า และกินผักผลไม้น้อย ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวานซึ่งเกิดจากการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ของร่างกายผิดปกติ ส่งผลให้อินซูลินที่มีหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดเข้าสู่เซลล์ต่างๆเพื่อไปใช้เป็นพลังงานทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดการคั่งของน้ำตาลในเส้นเลือดแดงส่งผลให้อวัยวะต่างๆเสื่อม ซึ่งอาการนี้จะส่งผลให้ เกิดโรคและอาการแทรกซ้อนต่ออวัยวะต่างๆได้ คนปกติก่อนรับประทานอาหารเช้าจะมีระดับน้ำตาลในเลือด ๗๐-๙๙ มก./ดล. หลังรับประทานอาหารแล้ว ๒ ชั่วโมง ระดับน้ำตาลไม่เกิน ๑๔๐ มก./ดล. ส่วนโรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะที่มีความดันโลหิตขึ้นสูงผิดปกติโดยความดันที่อยู่ภายในหลอดเลือดแดง ซึ่งหลอดเลือดแดงมีหน้าที่นำเลือดจากหัวใจลำเลียงไปยังอวัยวะและส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย โดยคนปกติความดันโลหิตก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัวและลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ทั้งนี้คนปกติจะมีความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (Systolic blood pressure) อยู่ในระหว่าง ๙๐-๑๔๐ มิลิเมตรปรอท และความความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว (Diastolic blood pressure) อยู่ในระหว่าง ๖๐-๙๐ มิลิเมตรปรอท การมีความดันโลหิตสูงส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้นทำให้ผนังหัวใจหนาตัวและถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องผนังหัวใจจะยืดออกและเสียหน้าที่ ทำให้เกิดหัวใจโตและหัวใจวายได้ในที่สุด อาจเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตกทำให้เป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าเป็นเรื้อรังอาจกลายเป็นโรคความจำเสื่อม สมาธิลดลง เลือดอาจไปเลี้ยงไตไม่พอ เนื่องจากหลอดเลือดเสื่อม ทำให้ไตวายเรื้อรังและภาวะไตวายจะยิ่งทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นอีก หลอดเลือดแดงในตาจะเสื่อมลงอย่างช้าๆ อาจมีเลือดที่จอตาทำให้ประสาทตาเสื่อมตามัวลงเรื่อยๆ จนตาบอดได้
จากระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อจังหวัดพัทลุง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง รายงานความครอบคลุมการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในประชากรที่อาศัยอยู่ตามทะเบียนราษฎร์ หมู่ ๑ เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ – วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙จำนวน ๒,๐๓๖คน แบ่งเป็นเพศชายจำนวน ๙๕๑ คน เพศหญิงจำนวน ๑,๐๘๕ คน จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๘๙๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๗๖ จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๑๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๒๐ และจากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง จำนวนประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ จำนวน ๘๖๕ ประชาชนป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๓๕ คน โรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๗๒ คน และป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน ๙๒ คน คนดูจากตัวเลขข้างต้นจะเห็นได้ว่าประชาชนป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงค่อนข้างสูง ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน
ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประชาชนทราบข้อมูลระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตของตนเอง ซึ่งหากพบว่าตนเองมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า ๑๒๖ มก./ดลหรือมีความดันโลหิตสูงกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็จะได้รีบเข้ารับการตรวจซ้ำหรือส่งรักษาที่ถูกต้อง ซึ่งจะช่วยป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือมีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานๆ ซึ่งจะช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอีกทั้งยังทำให้ประชาชนทราบพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ถูกต้อง ทำให้ประชาชนไม่เป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคแทรกซ้อนต่างๆ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงเสนอจัด“โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป
- ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
938
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้
๒. ทราบความชุกของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ
๓. ทำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ทราบสถานะสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของประชากรตามฐานข้อมูล จปฐ.
2
๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของประชากรตามฐานข้อมูล จปฐ.
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
938
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
938
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป (2) ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายไตรรงค์ ชูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”
ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายไตรรงค์ ชูเงิน
มีนาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-14 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 พฤศจิกายน 2559 ถึง 31 มีนาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะกอกเหนือ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L7574-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 พฤศจิกายน 2559 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือที่เรียกว่าโรควิถีชีวิต ๕ โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลกซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องมาจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิตและก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม กระทรวงสาธารณสุขเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรควิถีชีวิต จึงผลักดันให้เกิดความร่วมมือบูรณาการกันระหว่างหน่วยงานในกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมาย คือ การลดปัจจัยเสี่ยงและลดโรควิถีชีวิตในประชาชนซึ่งไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อโรค แต่เกิดมาจากสาเหตุการใช้วิถีชีวิตที่ไม่ถูกต้องนั่นเอง เกิดจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง ขาดการออกกำลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า และกินผักผลไม้น้อย ทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคเบาหวานซึ่งเกิดจากการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) ของร่างกายผิดปกติ ส่งผลให้อินซูลินที่มีหน้าที่นำน้ำตาลในเลือดเข้าสู่เซลล์ต่างๆเพื่อไปใช้เป็นพลังงานทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดการคั่งของน้ำตาลในเส้นเลือดแดงส่งผลให้อวัยวะต่างๆเสื่อม ซึ่งอาการนี้จะส่งผลให้ เกิดโรคและอาการแทรกซ้อนต่ออวัยวะต่างๆได้ คนปกติก่อนรับประทานอาหารเช้าจะมีระดับน้ำตาลในเลือด ๗๐-๙๙ มก./ดล. หลังรับประทานอาหารแล้ว ๒ ชั่วโมง ระดับน้ำตาลไม่เกิน ๑๔๐ มก./ดล. ส่วนโรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะที่มีความดันโลหิตขึ้นสูงผิดปกติโดยความดันที่อยู่ภายในหลอดเลือดแดง ซึ่งหลอดเลือดแดงมีหน้าที่นำเลือดจากหัวใจลำเลียงไปยังอวัยวะและส่วนต่าง ๆ ทั่วร่างกาย โดยคนปกติความดันโลหิตก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัวและลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ทั้งนี้คนปกติจะมีความดันโลหิตขณะหัวใจบีบตัว (Systolic blood pressure) อยู่ในระหว่าง ๙๐-๑๔๐ มิลิเมตรปรอท และความความดันโลหิตขณะหัวใจคลายตัว (Diastolic blood pressure) อยู่ในระหว่าง ๖๐-๙๐ มิลิเมตรปรอท การมีความดันโลหิตสูงส่งผลให้หัวใจทำงานหนักขึ้นทำให้ผนังหัวใจหนาตัวและถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องผนังหัวใจจะยืดออกและเสียหน้าที่ ทำให้เกิดหัวใจโตและหัวใจวายได้ในที่สุด อาจเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบตันหรือแตกทำให้เป็นอัมพาตหรือเสียชีวิตได้ ถ้าเป็นเรื้อรังอาจกลายเป็นโรคความจำเสื่อม สมาธิลดลง เลือดอาจไปเลี้ยงไตไม่พอ เนื่องจากหลอดเลือดเสื่อม ทำให้ไตวายเรื้อรังและภาวะไตวายจะยิ่งทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้นอีก หลอดเลือดแดงในตาจะเสื่อมลงอย่างช้าๆ อาจมีเลือดที่จอตาทำให้ประสาทตาเสื่อมตามัวลงเรื่อยๆ จนตาบอดได้ จากระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อจังหวัดพัทลุง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง รายงานความครอบคลุมการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในประชากรที่อาศัยอยู่ตามทะเบียนราษฎร์ หมู่ ๑ เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป ในระหว่างวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ – วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๙จำนวน ๒,๐๓๖คน แบ่งเป็นเพศชายจำนวน ๙๕๑ คน เพศหญิงจำนวน ๑,๐๘๕ คน จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน ๘๙๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๓.๗๖ จำนวนประชากรที่ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน ๑,๑๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๒๐ และจากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากคลอง จำนวนประชากรอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในเขตเทศบาลตำบลมะกอกเหนือ จำนวน ๘๖๕ ประชาชนป่วยโรคเบาหวาน จำนวน ๓๕ คน โรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๗๒ คน และป่วยทั้งโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจำนวน ๙๒ คน คนดูจากตัวเลขข้างต้นจะเห็นได้ว่าประชาชนป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงค่อนข้างสูง ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและยังเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ประชาชนทราบข้อมูลระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตของตนเอง ซึ่งหากพบว่าตนเองมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่า ๑๒๖ มก./ดลหรือมีความดันโลหิตสูงกว่า ๑๔๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท ก็จะได้รีบเข้ารับการตรวจซ้ำหรือส่งรักษาที่ถูกต้อง ซึ่งจะช่วยป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงหรือมีความดันโลหิตสูงเป็นเวลานานๆ ซึ่งจะช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาอีกทั้งยังทำให้ประชาชนทราบพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ถูกต้อง ทำให้ประชาชนไม่เป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงหรือโรคแทรกซ้อนต่างๆ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงเสนอจัด“โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป
- ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 938 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ลดอัตราการเจ็บป่วยและการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้ ๒. ทราบความชุกของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่เทศบาลตำบลมะกอกเหนือ ๓. ทำให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ทราบสถานะสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของประชากรตามฐานข้อมูล จปฐ. |
|
|||
2 | ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป ที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ ของประชากรตามฐานข้อมูล จปฐ. |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 938 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 938 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชาชนกลุ่ม ๓๕ ปีขึ้นไป (2) ๒. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายทราบสภาวะความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-L7574-1-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายไตรรงค์ ชูเงิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......