กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 ธันวาคม 2562 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 ธันวาคม 2562 - 28 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวานเป็นหนึ่งในโรคเรื้อรังที่บั่นทอนคุณภาพชีวิตและคร่าชีวิตมนุษย์มากที่สุดโรคหนึ่งสำหรับประเทศไทยแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตด้วยเบาหวานปีละ 2หมื่นคน จากสถิติตั้งแต่พ.ศ. 2556 –2560 จังหวัดตรัง พบอัตราป่วยจากโรคเบาหวาน เป็นร้อยละ 4.14 , 4.61 ,4.62 , 4.68 และ 4.56 ตามลำดับ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง : ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง,2560) แสดงว่า โรคเบาหวานมีแนวโน้มสูงมากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มมีความชุกค่อนข้างสูง และนำไปสู่การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เรื้อรังหรือรุนแรงได้ อาทิ  เช่น ภาวะหลอดเลือดตีบแข็ง ความดันโลหิตสูง จอประสาทตาเสื่อม ไตวาย โรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือด ร่วมกับเป็นแผลเรื้อรัง ติดเชื้อได้ง่าย ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดความพิการหลายประการ ได้แก่ ตาบอด หรือ ถูกตัดขา ซึ่งปัญหาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นเหล่านี้ สามารถส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆตามมา ทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม รวมทั้งปัญหาทางเศรษฐกิจของครอบครัว  หากผู้ป่วยและครอบครัวไม่มีความเข้าใจในโรคที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่ร่วมกับให้การดูแลผู้ป่วยไม่ถูกต้อง ปัญหาด้านต่างๆ ที่กล่าวมารวมถึงภาวะแทรกซ้อนก็อาจเกิดขึ้นได้ หากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้อยู่ในภาวะปกติได้ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไป ทั้งจากผลการดำเนินงานโครงการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าของผู้ป่วยโรคเบาหวานปี 2562 มีผู้ป่วยเบาหวานรับบริการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนจำนวน 111คน พบผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนทางตาจำนวน 2 ราย และมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า จำนวน 1 ราย และส่งต่อโรงพยาบาล 2 ราย ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง  ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้จัดโครงการร่วมใจป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวานขึ้น  เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานต้องได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและเท้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า และแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อน พร้อมส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ และตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเอง มิให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้าได้
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อนและส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 23 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน
  • บรรยายเรื่อง โรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนของโรค
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง การดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายเรื่อง การดูแลสุขภาพ ป้องกันภาวะไตวาย
  • กิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนของโรค การดูแลตนเองเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน และการดูแบสุขภาพปองกันไตวาย ซึ่งมีผู้เข้าร่วมจำนวน  100 ราย โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. แบ่งกลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาวาน  จำนวน 4 กลุ่ม โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง คือ 2.1 ตรวจวัดสายตาเบื้องต้นประเมินความสามารถการมองเห็น โดยการตรวจวัดสายตาเบื้องต้น VA แก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่เข้าร่วมกิจกรรม  ผลการตรวจมีดังนี้ ตาขวา  - V/A ปกติ  ระหว่าง 20/20 - 20/40  จำนวน  32  ราย           - V/A ปกติ  ระหว่าง 20/50 - 20/200  จำนวน  49  ราย ตาซ้าย  V/A ปกติ  ระหว่าง 20/20 - 20/40  จำนวน  30  ราย           - V/A ปกติ  ระหว่าง 20/50 - 20/200  จำนวน  47  ราย           - V/A ผิดปกติ  ระหว่าง  10/200  จำนวน  1  ราย 2.2 ตรวจประเมินสุขภาพช่องปาก เพื่อคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางปริทันต์  โดยการตรวจสุขภาพช่องปาก/ตรวจฟัน และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปาก พร้อมแนะนำผู้ป่วยที่มีความผิดปกติให้ไปรับการรักษาต่อโรงพยาบาลกันตัง  ผลการตรวจพบว่า 1)  ปกติ/ไม่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก  จำนวน 53 ราย 2) ผิดปกติ (พบภาวะแทรกซ้อนทางปริทันต์)

- เหงือกอักเสบ  จำนวน 30 ราย - ฟันผุ จำนวน 12 ราย - ฟันผุต้องถอน  จำนวน 38 ราย 2.3 ตรวจประเมินเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน  ตามแบบฟอร์มการตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน  ซึ่งมีการตรวจประเมินเท้า  ประเมินชีพจรเส้นเลือดแดง การประเมินประสาทความรู้สึกด้วย Microfilament การตรวจปัญหาที่เล็บ/เท้า การตรวจสีผิวหนัง ผลการตรวจประเมินเท้าพบมีความเสี่ยง ดังนี้ 2.3.1 ความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนที่เท้า 1) ความเสี่ยงต่ำ  จำนวน 83 ราย 2) ความเสี่ยงปานกลาง จำนวน 1 ราย 3) ความเสี่ยงสูง  จำนวน  0 ราย 2.3.2 ความผิดปกติอื่นๆ - เชื้อราที่เท้า  จำนวน 3 ราย - ประวัติตัดนิ้วเท้า จำนวน 1 ราย 2.4 ตรวจคัดกรองจอประสาทตาด้วยเครื่อง Fundus  camera ผลการคัดกรองพบว่า 1) ไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางตา  จำนวน 73 ราย 2) พบภาวะแทรกซ้อนทางตา  จำนวน 10 ราย 3) ตาต้อกระจก  จำนวน  6 ราย 4) ตาต้อหิน  จำนวน  2 ราย 5) ตาบอด จำนวน 2 ราย

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า และแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อน พร้อมส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวานที่รับยาที่ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตังได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้และเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองประเมินภาวะแทรกซ้อนทางตาและทางเท้า  และแก้ไขปัญหาภาวะแทรกซ้อน  พร้อมส่งต่อผู้ป่วยเพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการใส่ใจ เรียนรู้ คัดกรองป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางตา เท้า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด