โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพให้เด็กอายุ 0-3 ปี ประจำปี 2560
ชื่อโครงการ | โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพให้เด็กอายุ 0-3 ปี ประจำปี 2560 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะมิยอ |
วันที่อนุมัติ | 28 กุมภาพันธ์ 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 14,950.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะยาซิน สาเมาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลกอเดร์ การีนา |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.854,101.318place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 120 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสภาวะช่องปากของเด็กอายุ ๐ – ๓ ปีในตำบลกะมิยอ พบว่าเด็กเริ่มมีปัญหาฟันน้ำนมผุตั้งแต่ อายุ 1.6ปี ซึ่งเป็นผลจากการไม่ได้รับการทำความสะอาดช่องปากจากผู้ปกครอง มีพฤติกรรมการบริโภคไม่เหมาะสม และไม่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและการเคลือบฟลูออไรด์วานิชในรพ.สต.ซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานอยู่เสมอ รวมทั้งผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันน้ำนมผุตามมา การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลทันตสุขภาพของเด็ก
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษาฟันของเด็ก
|
||
3 | เพื่อให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
|
- จัดอบรมให้ความรู้ทางทันตสุขภาพของเด็กแก่ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็ก
- ตรวจสุขภาพช่องปากของเด็ก
- ผู้ปกครองและผู้แลเด็กแปรงฟันให้แก่เด็ก
- เคลือบฟลูออไรดำเนินในเด็กที่มีฟันขึ้นแล้ว
- ผู้ปกครองและผู้แลให้ความสำคัญถึงสุขภาพช่องปากของเด็ก
- เด็กได้รับการดูแลรักษาอนามัยที่ถูกต้องเป็นประจำทุกวัน
- เด็กมีอนามัยช่องปากที่ดีไม่เป็นปัญหา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2560 14:27 น.