กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ


“ พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ ”

ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรีย์ อับดุลคานาน

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4152-02-06 เลขที่ข้อตกลง 07/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2563 ถึง 24 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4152-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2563 - 24 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ส่งผลทำให้วิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และมีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพโดยรวมของประชาชนในตำบล    กอตอตือร๊ะ การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้น การเจ็บป่วยและเสียชีวิตลดลง ทำให้มีสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้น และนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อสุขภาพ เช่น ขาดการออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง รับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอ การสูบบุหรี่ พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ดังกล่าว ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมา ที่สำคัญได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะวิตกกังวลและความเครียด และโรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งโรคหรืออาการต่างๆ ดังกล่าว เป็นโรคหรืออาการเรื้อรัง การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ จะนำไปสู่การป้องกันและลดปัญหา และส่งเสริมให้ประชาชนในตำบลกอตอตือร๊ะสามารถพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพได้อย่างยั่งยืน การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในตำบลกอตอตือร๊ะโดยใช้กลวิธีสาธารณสุขมูลฐานในการดำเนินการมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เป็นกลไกสำคัญในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง อสม. ถือเป็นผู้ที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาระบบสาธารณสุขของประเทศ โดย อสม. 1 คน ดูแลรับผิดชอบประชาชน 10-30 หลังคาเรือน ทำหน้าที่ แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข บำบัดทุกข์ให้ประชาชน ทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี ซึ่งในปัจจุบัน อสม.ต้องมีบทบาทมากขึ้นทั้งในด้านการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพให้กับคนในชุมชน การให้บริการสาธารณสุขขั้นพื้นฐาน การเป็นผู้เชื่อมประสานระหว่างเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ กับประชาชนในตำบลกอตอตือร๊ะ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและการสร้างการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในตำบล      กอตอตือร๊ะ ในการดูแลจัดการด้านสุขภาพ เชื่อมโยงไปถึงการพัฒนาด้านอื่น ๆ การรวมพลังกับแกนนำสุขภาพอื่นๆ ในการสร้างสุขภาพ การเฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนในตำบลกอตอตือร๊ะ รวมถึงเป็นผู้นำในการรณรงค์ด้านสุขภาพต่างๆ ในชุมชน จากสภาพปัญหาและวิถีของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ อสม.จำเป็นต้องมีการพัฒนาศักยภาพให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลกอตอตือร๊ะขึ้น โดยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาให้ อสม.เป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถตามสภาพปัญหาและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ ตลอดจนให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้นในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
  2. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็น เร่งด่วนในการปฏิบัติงาน โดยให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาในพื้นที่
  3. เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม. มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. อสม. มีการพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นและเร่งด่วนในการปฏิบัติงานโดยให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาในพื้นที่
    3. ระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนได้รับการพัฒนา

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ อสม. เข้าใจบทบาทและภารกิจในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป
    0.00

     

    2 เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็น เร่งด่วนในการปฏิบัติงาน โดยให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ อสม. มีความรู้และทักษะที่จำเป็น เร่งด่วนในการปฏิบัติงานโดยให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาในพื้นที่
    0.00

     

    3 เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนได้รับการพัฒนา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทบทวนบทบาทและภารกิจของ อสม. ในการดูแลสุขภาพของประชาชนตามสภาพปัญหาสาธารณสุขที่เปลี่ยนแปลงไป (2) เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็น เร่งด่วนในการปฏิบัติงาน โดยให้เน้นหนักกับสภาพปัญหาในพื้นที่ (3) เพื่อพัฒนาระบบการเฝ้าระวังและดูแลผู้ป่วยโรคที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    พัฒนาศักยภาพแกนนำตำบลกอตอตือร๊ะ จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 63-L4152-02-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนุชรีย์ อับดุลคานาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด