โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบละยะต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2563
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบละยะต๊ะ ประจำปีงบประมาณ 2563 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อสม. |
วันที่อนุมัติ | 6 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 44,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายอับดุลรอแม แสมะเซง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลยะต๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.426,101.407place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 3.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันไข้เลือดออก 4.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.เพื่อระดมความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 70 ของประชาชนในพื้นที่ยะต๊ะทราบถึงวิธีป้องกันโรคไข้เลือดออก |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.ให้ความรู้ในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคไข้เลือดออก แก่นักเรียนในตำบลยะต๊ะ 2.ทำกิจกรรมรณรงค์พร้อมให้ความรู้เชิงปฎิบัติแก่ประชาชนทั่วไป ผู้นำชุมชน เพื่อป้องกันไข้เลือดออก 3.ร่วมกันสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย โดยแกนนำนักเรียน อสม. และประชาชน 4.ควบคุมการระบาดของโรคโดยการกำจัดยุงพาหะด้วยวิธีการพ่นหมอกควัน ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมายพร้อมแจกโลชั้นกันยุงและทราบอะเบท และทุกครั้งเมื่อมีการรายงานผู้ป่วย 5.สรุปผลการจัดทำโครงการ
1.ประชาชนมีความรู้และตระหนักถึงความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2.ลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนมีความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันไข้เลือดออก 4.ประชาชนสามารถทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.ทุกฝ่ายให้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2563 15:41 น.