กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ จิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
รหัสโครงการ 63-L5203-01-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปลักหนู
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 1 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 44,724.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายคมสันติ์ ปินแก้ว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปลักหนู อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.676,100.663place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 25 มี.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 44,724.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 44,724.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญทางด้านสาธารณสุขระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเอง ชุมชน/สังคมตามลำดับ การระบาดของโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันสามารถพบได้ในทุกกลุ่มอายุ โดยสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ข้อมูลจากระบบรายงาน  การเฝ้าระวังโรค 506 สำนักระบาดวิทยา ตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 25๖๐ – ๓๑ ธันวาคม 25๖๐ พบว่า จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม จำนวน 2,826 ราย มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 5 ราย อัตราป่วยสูงสุดอันดับแรก คือ อำเภอสิงหนคร รองลงมาคือ อำเภอเมืองสงขลา สะเดา และหาดใหญ่ ตามลำดับ พื้นที่ตำบล ปลักหนู ในปี ๒๕6๑ พบมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลปลักหนูมีการระบาดทุกปี ประกอบกับตำบลปลักหนูเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ทำให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ทำให้มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตลอดทั้งปี กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปลักหนูร่วมกับ อสม.ในพื้นที่ตำบลปลักหนู และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ ได้ร่วมกัน เฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกมาตั้งแต่ 2555 และดำเนินการอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยกระตุ้นให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการรณรงค์ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก จึงได้จัดทำโครงการปลักหนูร่วมใจ ขจัดภัยไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลปลักหนู โดยยึดหลัก มาตรการ ๕ ป. ๑ ข. โดยให้ประชาชนเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกระบาด ด้วยการกำจัดแหล่งเพราะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย เพื่อลดอัตราการป่วย การเสียชีวิตและการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลปลักหนูต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อดูแลควบคุมและป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

หยุดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2561 ลดลง(น้อยกว่าปี 2560 )

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนในตำบลปลักหนูเกิดความตระหนักในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ประชาชนในตำบลปลักหนูกำจัดลูกน้ำยุงลาย

0.00
3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนในตำบลปลักหนูได้ดูแลรักษาความสะอาดและเก็บขยะบริเวณบ้านเรือนโดยรอบ

บริเวณบ้านเรือนในตำบลปลักหนูมีความสะอาด และขยะลดน้อยลง

0.00
4 ข้อที่ ๔ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

0.00
5 ข้อที่ ๕ เพื่อกระตุ้นให้เกิดภาคีเครือข่าย ได้แก่ บ้าน ชุมชน สามารถป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

เกิดภาคีเครือข่ายในการเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ข้อที่ 1 เพื่อดูแลควบคุมและป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนในตำบลปลักหนูเกิดความตระหนักในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชาชนในตำบลปลักหนูได้ดูแลรักษาความสะอาดและเก็บขยะบริเวณบ้านเรือนโดยรอบ

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : ข้อที่ ๔ เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 : ข้อที่ ๕ เพื่อกระตุ้นให้เกิดภาคีเครือข่าย ได้แก่ บ้าน ชุมชน สามารถป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ
  2. ส่งโครงการเข้าคณะอนุกรรมการเพื่อ พิจารณากลั่นกรองโครงการ
  3. คณะกรรมการกองทุนฯประชุมพิจารณาโครงการ
  4. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์/แผนงานโครงการ/ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โรงเรียน ชุมชน สาสนถานทุกแห่ง และอื่นๆ
    ๕. ประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  5. จัดทำเอกสาร แผ่นพับ ไวนิล เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  6. ประชาสัมพันธ์โครงการและอสม.ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก ผ่านทางเสียงตามสายของหมู่บ้าน
  7. รณรงค์การจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย เดือนละ ๑ ครั้ง โดยมุ่งเน้นกิจกรรมพัฒนาแหล่งน้ำที่เน่าเสียบริเวณที่มีน้ำขัง การกำจัดขยะ หรือภาชนาที่มีน้ำขัง เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายพื้นที่เป้าหมาย
  8. จัดกิจกรรม หน้าบ้านน่ามอง โดยส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกพืชสมุนไพร/ไม้ดอก ไม้ประดับไล่ยุง ไว้หน้าบ้าน และBig cleaning บ้านสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
  9. อสม.ในแต่ละหมู่บ้านร่วมเดินสำรวจและตรวจนับจำนวนลูกน้ำยุงลาย ทั้ง ๗ หมู่บ้านในวันเสาร์-อาทิตย์
  10. ประเมินผลการดำเนินโครงการโดยจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๑7. สรุปผลการดำเนินโครงการและรายงานผลการดำเนินโครงการต่อที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้มีการดูแลควบคุมและป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกอย่างยั่งยืน ประชาชนในตำบลปลักหนูเกิดความตระหนักในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย บริเวณบ้านเรือนโดยรอบในตำบลเกาะแต้วมีการรักษาความสะอาดเพิ่มขึ้น ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง เกิดภาคีเครือข่าย ได้แก่ บ้าน ชุมชนและสถานศึกษา ในการ ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออก จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มี.ค. 2563 09:24 น.