โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์ว่าปี พ.ศ. 2544-2643(2001-2100) จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ หมายถึงการมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ10ของประชากรรวมทั่วโลกสำหรับประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สรุปว่าไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี2558 (2005) โดยมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วงปี 2567-2568 (2024-2025)
เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจาการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด ปัญหาเรื่องของผู้สูงอายุเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในอนาคตอันใกล้นี้มีการคาดการณ์ว่าภายในปี 2563ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น11.87 ล้านคนหรือร้อยละ 17 ของประชากรทั้งหมด
ซึ่งตำบลปันแตได้ดำเดินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุปี 2562 พบว่า มีจำนวนผู้สูงอาย จำนวน1,150 คนได้รับการคัดกรอง ADL จำนวน1,146 คน คิดเป็นร้อยละ 99.65 ผู้สูงอายุได้รับการประเมินADL อยู่ในระดับคะแนน12-20 คะแนน (ติดสังคม) จำนวน 1,106คนคิดเป็นร้อยละ 96.20ระดับคะแนน5-11คะแนน(ติดบ้าน)จำนวน 25คนคิดเป็นร้อยละ 2.20 ระดับคะแนน 0-4คะแนน (ติดเตียง) จำนวน15คน คิดเป็นร้อยละ1.30
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง
- กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
117
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,180
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง
2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
วันที่ 17 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง อสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
0
0
2. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
1.คัดกรองเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย 1179 คน คัดกรอง 980 คน คิดเป็นร้อยละ 83.12 ปกติ 801 คน เสี่ยง 150 คน เสี่ยงสูง 29 คน
2. คัดกรองความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 669 คน คิดเป็นร้อยละ 56.74 ปกติ 508 คน เสี่ยง 56 คน เสี่ยงสูง 105 คน
3. คัดกรอง CVD
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 445 คน ร้อยละ 37.74 ต่ำ 50 คน
ปานกลาง 142 คน สูง 87 คน สูงมาก 59 คน สูงอันตราย 107 คน
4. คัดกรองสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,172 คน คิดเป็นร้อยละ 99.41 ปกติ 974 คน ผิดปกติ 198 คน
5. คัดกรองสมองเสื่อม AMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,164 คน ผิดปกติ 10 คน
6. คัดกรองซึมเศร้า
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,159 คน
ผิดปกติ 15 คน
7. คัดกรองข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,170 คน คิดเป็นร้อยละ 99.24 ปกติ 929 คน ผิดปกติ 241 คน
8. คัดกรองภาวะหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,174คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,156 คน ผิดปกติ 18 คน
9. คัดกรอง ADL
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง จำนวน 1,176 คน คิดเป็นร้อยละ 99.75 ติดสังคม 1,130 คน ติดบ้าน 34 คน ติดเตียง 12 คน
10. คัดกรอง BMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,092 คน คิดเป็นร้อยละ 92.62 ผอม 171 คน สมส่วน 670 คน เริ่มอ้วน 202 คน อ้วน 47 คน อ้วนอันตราย 2 คน
ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 46 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกคน ร้อยละ 100
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.คัดกรองเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย 1179 คน คัดกรอง 980 คน คิดเป็นร้อยละ 83.12 ปกติ 801 คน เสี่ยง 150 คน เสี่ยงสูง 29 คน
2. คัดกรองความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 669 คน คิดเป็นร้อยละ 56.74 ปกติ 508 คน เสี่ยง 56 คน เสี่ยงสูง 105 คน
3. คัดกรอง CVD
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 445 คน ร้อยละ 37.74 ต่ำ 50 คน
ปานกลาง 142 คน สูง 87 คน สูงมาก 59 คน สูงอันตราย 107 คน
4. คัดกรองสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,172 คน คิดเป็นร้อยละ 99.41 ปกติ 974 คน ผิดปกติ 198 คน
5. คัดกรองสมองเสื่อม AMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,164 คน ผิดปกติ 10 คน
6. คัดกรองซึมเศร้า
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,159 คน
ผิดปกติ 15 คน
7. คัดกรองข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,170 คน คิดเป็นร้อยละ 99.24 ปกติ 929 คน ผิดปกติ 241 คน
8. คัดกรองภาวะหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,174คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,156 คน ผิดปกติ 18 คน
9. คัดกรอง ADL
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง จำนวน 1,176 คน คิดเป็นร้อยละ 99.75 ติดสังคม 1,130 คน ติดบ้าน 34 คน ติดเตียง 12 คน
10. คัดกรอง BMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,092 คน คิดเป็นร้อยละ 92.62 ผอม 171 คน สมส่วน 670 คน เริ่มอ้วน 202 คน อ้วน 47 คน อ้วนอันตราย 2 คน
ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 46 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกคน ร้อยละ 100
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.คัดกรองเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย 1179 คน คัดกรอง 980 คน คิดเป็นร้อยละ 83.12 ปกติ 801 คน เสี่ยง 150 คน เสี่ยงสูง 29 คน
2. คัดกรองความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 669 คน คิดเป็นร้อยละ 56.74 ปกติ 508 คน เสี่ยง 56 คน เสี่ยงสูง 105 คน
3. คัดกรอง CVD
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 445 คน ร้อยละ 37.74 ต่ำ 50 คน
ปานกลาง 142 คน สูง 87 คน สูงมาก 59 คน สูงอันตราย 107 คน
4. คัดกรองสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,172 คน คิดเป็นร้อยละ 99.41 ปกติ 974 คน ผิดปกติ 198 คน
5. คัดกรองสมองเสื่อม AMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,164 คน ผิดปกติ 10 คน
6. คัดกรองซึมเศร้า
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,159 คน
ผิดปกติ 15 คน
7. คัดกรองข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,170 คน คิดเป็นร้อยละ 99.24 ปกติ 929 คน ผิดปกติ 241 คน
8. คัดกรองภาวะหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,174คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,156 คน ผิดปกติ 18 คน
9. คัดกรอง ADL
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง จำนวน 1,176 คน คิดเป็นร้อยละ 99.75 ติดสังคม 1,130 คน ติดบ้าน 34 คน ติดเตียง 12 คน
10. คัดกรอง BMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,092 คน คิดเป็นร้อยละ 92.62 ผอม 171 คน สมส่วน 670 คน เริ่มอ้วน 202 คน อ้วน 47 คน อ้วนอันตราย 2 คน
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง อสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 46 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกคน ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง ร้อยละ 90
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1297
1212
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
117
120
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,180
1,092
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์ว่าปี พ.ศ. 2544-2643(2001-2100) จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ หมายถึงการมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ10ของประชากรรวมทั่วโลกสำหรับประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สรุปว่าไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี2558 (2005) โดยมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศ และคาดว่าจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วงปี 2567-2568 (2024-2025)
เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น แต่ผู้สูงอายุก็ยังได้รับผลกระทบจาการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัยรวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุ จึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกาย เกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแล เกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุด ปัญหาเรื่องของผู้สูงอายุเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในอนาคตอันใกล้นี้มีการคาดการณ์ว่าภายในปี 2563ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเป็น11.87 ล้านคนหรือร้อยละ 17 ของประชากรทั้งหมด
ซึ่งตำบลปันแตได้ดำเดินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุปี 2562 พบว่า มีจำนวนผู้สูงอาย จำนวน1,150 คนได้รับการคัดกรอง ADL จำนวน1,146 คน คิดเป็นร้อยละ 99.65 ผู้สูงอายุได้รับการประเมินADL อยู่ในระดับคะแนน12-20 คะแนน (ติดสังคม) จำนวน 1,106คนคิดเป็นร้อยละ 96.20ระดับคะแนน5-11คะแนน(ติดบ้าน)จำนวน 25คนคิดเป็นร้อยละ 2.20 ระดับคะแนน 0-4คะแนน (ติดเตียง) จำนวน15คน คิดเป็นร้อยละ1.30
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง
- กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 117 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,180 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 2. ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 17 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง อสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง |
||
วันที่ 18 สิงหาคม 2563กิจกรรมที่ทำ1.คัดกรองเบาหวาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.คัดกรองเบาหวาน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.คัดกรองเบาหวาน
กลุ่มเป้าหมาย 1179 คน คัดกรอง 980 คน คิดเป็นร้อยละ 83.12 ปกติ 801 คน เสี่ยง 150 คน เสี่ยงสูง 29 คน
2. คัดกรองความดันโลหิตสูง
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 669 คน คิดเป็นร้อยละ 56.74 ปกติ 508 คน เสี่ยง 56 คน เสี่ยงสูง 105 คน
3. คัดกรอง CVD
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 445 คน ร้อยละ 37.74 ต่ำ 50 คน
ปานกลาง 142 คน สูง 87 คน สูงมาก 59 คน สูงอันตราย 107 คน
4. คัดกรองสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,172 คน คิดเป็นร้อยละ 99.41 ปกติ 974 คน ผิดปกติ 198 คน
5. คัดกรองสมองเสื่อม AMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,164 คน ผิดปกติ 10 คน
6. คัดกรองซึมเศร้า
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,174 คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,159 คน
ผิดปกติ 15 คน
7. คัดกรองข้อเข่าเสื่อม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง 1,170 คน คิดเป็นร้อยละ 99.24 ปกติ 929 คน ผิดปกติ 241 คน
8. คัดกรองภาวะหกล้ม
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,174คน คิดเป็นร้อยละ 99.58 ปกติ 1,156 คน ผิดปกติ 18 คน
9. คัดกรอง ADL
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรอง จำนวน 1,176 คน คิดเป็นร้อยละ 99.75 ติดสังคม 1,130 คน ติดบ้าน 34 คน ติดเตียง 12 คน
10. คัดกรอง BMI
กลุ่มเป้าหมาย 1,179 คน คัดกรองจำนวน 1,092 คน คิดเป็นร้อยละ 92.62 ผอม 171 คน สมส่วน 670 คน เริ่มอ้วน 202 คน อ้วน 47 คน อ้วนอันตราย 2 คน
จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อสม. ในเรื่องการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง อสม. นำความรู้ที่ได้รับดำเนินการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ เมื่อได้รับผลผิดปกติผู้สูงอายุสามารถแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง จำนวน 46 คน ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านทุกคน ร้อยละ 100
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง ร้อยละ 90 |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1297 | 1212 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 117 | 120 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,180 | 1,092 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุได้รับการประเมินภาวะสุขภาพ 10 เรื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 10 เรื่อง (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่แกนนำ อสม.ในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......