โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
กรกฎาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-5-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-5-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ โดยมีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 207 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันที่ 12 เมษายน จำนวน 1,784,751 ราย มีอาการรุนแรง 50,535 ราย เสียชีวิต 109,011 ราย โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยยืนยัน 10 อันดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 533,115 ราย สเปน 163,027รายอิตาลี152,271 ราย ฝรั่งเศส 129,654 ราย เยอรมนี 125,452 ราย จีน 83,098ราย (รวม ฮ่องกง 1,001ราย มาเก๊า 45 ราย) สหราชอาณาจักร 78,991 ราย อิหร่าน 70,029 ราย ตุรกี 52,167 ราย และเบลเยี่ยม 28,018 ราย และสถานการณ์ในประเทศไทย โดยการคัดกรองตามนิยามการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบว่า การคัดกรองผู้เดินทางเข้า-ออกที่ท่าอากาศยาน คัดกรองเที่ยวบินสะสมตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2563 รวมทั้งสิ้น 36,995 เที่ยวบิน ผู้เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 4,394,847 ราย พบผู้ป่วยที่มี อาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 591 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง วันที่ 11 เมษายน 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 1,535 ลำ มีผู้ที่เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 134,160 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 2 ราย การคัดกรองผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดนทางบก และสถานการณ์ในจังหวัดสงขลา ข้อมูล ณ วันที่ 13 เมษายน 2563 เวลา 12.00 น. พบว่า มีผู้เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังโรค จำนวน 572 ราย โดยตรวจไม่พบเชื้อ จำนวน 531 ราย และรอผลตรวจ จำนวน 4 ราย พบผู้ป่วยยืนยัน (สะสม) จำนวน 37 ราย ซึ่งประกอบด้วยคนในจังหวัดสงขลา 32 ราย และต่างจังหวัด 5 ราย พบผู้ที่รักษาหายสามารถกลับบ้านได้แล้ว จำนวน 26 ราย และยังมีผู้รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล จำนวน 11 ราย แต่ยังไม่พบผู้เสียชีวิต โดยอำเภอรัตภูมิยังไม่พบผู้ป่วยที่ยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา แต่มีผู้เดินทางมาจากอินโดนีเซีย กลุ่มดะวะห์ จำนวน 3 ราย ประกอบกับสถานการณ์ในตำบลคูหาใต้ ณ วันที่ 13 เมษายน 2563 เวลา 15.00 น. ซึ่งเป็นสถานการณ์ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ โดยต้องดำเนินการเฝ้าระวัง ยอดสะสม 166 ราย
ประกอบกับตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ว2441 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Quarantine) เพื่อรองรับสถานการณ์โรคโควิด 19 ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดเตรียมพื้นที่สำหรับกักกันกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (coronavirus disease 2019) นั้น
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคโควิด 19 และผลกระทบจากโรคทั้งในทางตรง และทางอ้อม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รวมถึงการป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ
- เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลคูหาใต้ ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
- การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ ได้รับการกักตัว
100.00
2
เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
ตัวชี้วัด : มีป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ (2) เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-5-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ จันทสุวรรณ
กรกฎาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-5-07 เลขที่ข้อตกลง 7/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8402-5-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) ในประเทศจีน เริ่มจากเมืองอู่ฮั่น และต่อมาระบาดไปอีกหลายเมือง ปัจจุบันพบผู้ป่วยติดเชื้อในทุกมณฑล และยังพบผู้ป่วยยืนยันในหลายประเทศ โดยมีรายงานผู้ป่วยยืนยันทั่วโลก รวม 207 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ในวันที่ 12 เมษายน จำนวน 1,784,751 ราย มีอาการรุนแรง 50,535 ราย เสียชีวิต 109,011 ราย โดยประเทศที่มีจำนวนผู้ป่วยยืนยัน 10 อันดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 533,115 ราย สเปน 163,027รายอิตาลี152,271 ราย ฝรั่งเศส 129,654 ราย เยอรมนี 125,452 ราย จีน 83,098ราย (รวม ฮ่องกง 1,001ราย มาเก๊า 45 ราย) สหราชอาณาจักร 78,991 ราย อิหร่าน 70,029 ราย ตุรกี 52,167 ราย และเบลเยี่ยม 28,018 ราย และสถานการณ์ในประเทศไทย โดยการคัดกรองตามนิยามการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พบว่า การคัดกรองผู้เดินทางเข้า-ออกที่ท่าอากาศยาน คัดกรองเที่ยวบินสะสมตั้งแต่วันที่ 3 มกราคม 2563 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2563 รวมทั้งสิ้น 36,995 เที่ยวบิน ผู้เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 4,394,847 ราย พบผู้ป่วยที่มี อาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 591 ราย การคัดกรองผู้เดินทางที่ท่าเรือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง วันที่ 11 เมษายน 2563 มียอดการคัดกรองเรือสะสม 1,535 ลำ มีผู้ที่เดินทางได้รับการคัดกรองสะสมรวม 134,160 ราย พบผู้ป่วยที่มีอาการเข้าได้ตามนิยามการคัดกรองจำนวน 2 ราย การคัดกรองผู้เดินทางผ่านด่านพรมแดนทางบก และสถานการณ์ในจังหวัดสงขลา ข้อมูล ณ วันที่ 13 เมษายน 2563 เวลา 12.00 น. พบว่า มีผู้เข้าเกณฑ์เฝ้าระวังโรค จำนวน 572 ราย โดยตรวจไม่พบเชื้อ จำนวน 531 ราย และรอผลตรวจ จำนวน 4 ราย พบผู้ป่วยยืนยัน (สะสม) จำนวน 37 ราย ซึ่งประกอบด้วยคนในจังหวัดสงขลา 32 ราย และต่างจังหวัด 5 ราย พบผู้ที่รักษาหายสามารถกลับบ้านได้แล้ว จำนวน 26 ราย และยังมีผู้รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล จำนวน 11 ราย แต่ยังไม่พบผู้เสียชีวิต โดยอำเภอรัตภูมิยังไม่พบผู้ป่วยที่ยืนยันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา แต่มีผู้เดินทางมาจากอินโดนีเซีย กลุ่มดะวะห์ จำนวน 3 ราย ประกอบกับสถานการณ์ในตำบลคูหาใต้ ณ วันที่ 13 เมษายน 2563 เวลา 15.00 น. ซึ่งเป็นสถานการณ์ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ โดยต้องดำเนินการเฝ้าระวัง ยอดสะสม 166 ราย ประกอบกับตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ว2441 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2563 เรื่อง การจัดตั้งศูนย์กักกันหรือสังเกตอาการกลุ่มผู้ป่วยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Quarantine) เพื่อรองรับสถานการณ์โรคโควิด 19 ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดเตรียมพื้นที่สำหรับกักกันกลุ่มเสี่ยงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (coronavirus disease 2019) นั้น ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซึ่งได้ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคโควิด 19 และผลกระทบจากโรคทั้งในทางตรง และทางอ้อม จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รวมถึงการป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ
- เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19)
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลตำบลคูหาใต้ ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
- การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ ได้รับการกักตัว |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้ ตัวชี้วัด : มีป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้ |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากต่างประเทศ กรุงเทพฯและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ (2) เพื่อป้องกันการระบาดโรคในพื้นที่จุดเสี่ยงในเขตพื้นที่ตำบลคูหาใต้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง กักกันกลุ่มเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1๙) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8402-5-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประกอบ จันทสุวรรณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......