กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยงลดโรควัยทำงาน
รหัสโครงการ 63-L1523-2-18
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านกลิ้งกลอง
วันที่อนุมัติ 9 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 18,290.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศรีเวียง กิตติเวชวรกุล
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุณี จำนงค์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.559,99.465place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบันปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคม สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมสุขภาพมากขึ้นตามลำดับ เป็นโรคที่เกิดจากการดำเนินชีวิตหรือที่เรียกว่า "โรควิถีชีวิต" 5 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญระดับประเทศ ซึ่งนับจะทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องมาจากความเจริญทางด้านเทคโนโลยีและสภาพแวดล้อมส่งผลต่อวิถีชีวิต และก่อให้เกิดพฤติกรรมการสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล การเคลื่อนไหวทางกายน้อย การบริโภคยาสูบ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ในปริมาณที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ รวมถึงภาวะเครียด ซึ่งหากไม่สามารถหยุดพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรควิถีชีวิต พิการ และเสียชีวิตตามมา นอกจากนี้ ยังสร้างภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาและก่อให้เกิดการสูยเสียทางเศรษฐกิจตามมาอย่างมหาศาล การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินการงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ จากการสำรวจของกรมอนามัย พบว่า คนไทยที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป โดยเฉพาะผู้ที่มีน้ำหนักเกินและอ้วน มีประมาณร้อยละ 30 ซึ่งกว่า 13 ล้านคน เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ส่งผลให้ในแต่ละปียังมีผู้เสียชีวืตด้วยกลุ่มโรคหลอดเลือดและสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคเบาหวานกว่า 65,000 ราย โดยยังไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง และสถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่หมู่ที่ 6 ตำบลนาเมืองเพชร พบว่าในปี 2560-2562 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 25,27, และ 30 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 68,71 และ 73 คน จากสภาพปัญหาดังกล่าว ทางอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านกลิ้งกลอง เล็งเห็นถึงแนวโน้มการเกิดผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้น หากไม่มีการแกปัญหาจากสถานการณ์ที่แท้จริง อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 บ้านกลิ้งกลอง จึงได้จัดทำโครงการ "โครงการลดเสี่ยง ลดโรควัยทำงาน" เพื่อให้เกิดทักษะในการดูแล และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน เตรียมความพร้อมการรู้จักการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมสุขภาพที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในอนาคต เกิดพฤติกรรมที่ดี และสามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อสร้างเครือข่ายความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน เช่น องค์กร อสม. กลุ่มแกนนำต่างๆ

1.ร้อยละ 90 ของวัยทำงานได้รับการประเมินความเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2.ลดอัตราการการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูงร้อยละ 2.5

1.00
2 1.เพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้ และทักษะที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงในการเกิดโรคและป้องกันภาวะแทรกซ้อน 2. เพื่อสร้างเครือข่ายความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน เช่น องค์กร อสม. กลุ่มแกนนำต่างๆ

1.ร้อยละ 90 ของวัยทำงานได้รับการประเมินความเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 2.ลดอัตราการการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง รายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงสูงร้อยละ 2.5

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 90 18,290.00 2 18,290.00
11 พ.ค. 63 - 30 พ.ย. 63 อบรมความรู้ทักษะ / การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงสูง อสม.และแกนนำเครือข่ายโดยวิทยากรเฉพาะทาง 70 12,240.00 12,240.00
11 พ.ค. 63 - 30 พ.ย. 63 อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยง จำนวน 50 คน โดยภาคเครือข่าย จำนวน 2ครั้ง 20 6,050.00 6,050.00

1.จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาเมืองเพชร 2.ประชุมเจ้าหน้าที่เครือข่ายบริการสุขภาพ/ผู้นำ 3.ติดต่อประสานงานวิทยากร จัดเตรียมเอกสาร/อุปกรณ์ในการอบรม 4.ร่วมกับทีมหมอครอบครัวค้นหากลุ่มเสี่ยงและผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง โดยการตรวจคัดกรองสุขภาพและประเมินสภาวะสุขภาพในประชาชนกลุ่มวัยทำงาน
5.อบรมความรู้ทักษะ/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงสูงและแกนนำเครือข่ายโดยวิทยากรเฉพาะทาง 6.อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพพร้อมติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงสูงโดยภาคีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้ง 7.สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เมื่อดำเนินงานเสร็จสิ้นตามโครงการแล้ว ประชากรกลุ่มเสี่ยง ตระหนักเห็นความสำคัญ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องละความเสี่ยงต่อการเกิดโรควิถีชีวิต อันจะนำไปสู่การส้รางสุขภาพ มีคุณภาพชีวิตที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 เม.ย. 2563 09:02 น.