โครงการรณรงค์ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และพัฒนาศักยภาพทีม(SRRT)ระดับตำบลบ้านน้ำใสแบบยั่งยืน ปีงบประมาณ 2563
ชื่อโครงการ | โครงการรณรงค์ควบคุม ป้องกัน เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก และพัฒนาศักยภาพทีม(SRRT)ระดับตำบลบ้านน้ำใสแบบยั่งยืน ปีงบประมาณ 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L3006-01-06 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านน้ำใส |
วันที่อนุมัติ | 3 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 11 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ธันวาคม 2563 |
งบประมาณ | 17,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายฟิกรี สาและ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอิสมาอีลล์ เหตุ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลุโบะยิไร อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.666,101.417place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ให้เหลือไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร ๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ คนต่อแสนประชากร ๒. ทำให้สามารถลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย จากดัชนีชึ้วัดลูกน้ำยุงลาย HI<10และCI=0 3.. ทำให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 4. ทีมSRRT ระดับตำบลสามารถเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน และการสอบสวนเคลื่อนที่เร็วทันเวลา มีประสิทธิภาพ |
80.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- รณรงค์ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดยุงลาย โดยวิธี
3.๑ ทางกายภาพ
- ทีม SRRT สำรวจความชุกลูกน้ำยุงลาย และประเมินดัชนีความชุกครอบคลุมทุกหมู่บ้าน ชุมชน โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข
- รณรงค์ให้ทีม SRRT ชุมชนและโรงเรียน ร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเช่นการทำความสะอาดในชุมชน การคว่ำกะลาและล้อรถ การเดินณรงค์ประชาสัมพันธ์ หอกระจ่ายข่าว การแจกจ่ายทรายอะเบท การแจกจ่ายแผ่นพับ การณรงค์โดยใช้ไวนิลประชาสัมพันธ์ หมู่บ้านและโรงเรียน ชุมชน อบต. และสถานบริการสาธารณสุข
3.๒ ใช้สารเคมี
- ใส่สารเคมีทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และโรงเรียน และพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายโดยที่ SRRT
3.๓ ทางชีวภาพ
- สนับสนุนให้ชุมชนปลูกพืชไล่ยุง เช่นตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูง
4. ติดตาม ประเมินผล
๑. ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ คนต่อแสนประชากร ๒. ทำให้สามารถลดความชุกของลูกน้ำยุงลาย จากดัชนีชึ้วัดลูกน้ำยุงลาย HI
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2563 11:11 น.