กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวราพร ช่วยแจ้ง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6895-02-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-02-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้คนอายุยืนยาวมากขึ้น คนที่อายุ 60 ปีมีโอกาสที่จะอยู่ถึงอายุ 80 ปี ซึ่งคุณภาพชีวิตจากช่วงอายุ 60 - 80 ปี เป็นเวลาอีกไม่น้อย จึงเป็นช่วยเวลาที่สามารถดำรงรักษาสุขภาพ ทำการงานที่เป็นประโยชน์ และมีความสุขได้มาก จากการศึกษาข้อมูล พบว่าประชากรผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร เนื่องจากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุ มีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นเช่นนี้เนื่องมาจากการพัฒนาด้านสาธารณสุขและทางการแพทย์ทำให้อัตราการตายลดลง ผู้สูงอายุจึงมีชีวิตที่ยืนยาวขึ้น จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่า ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 43.95 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่ามีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม ปัญหาปวดข้อเข่าทำ ให้ผู้สูงอายุ เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการเข้าสังคม ทำให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผลต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการปวดที่ไม่เหมาะสมความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเอง ถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ ปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมให้หายขาดได้ แต่สามารถลดอาการปวดได้ โดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา เช่น การให้ความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อม การออกกำลังกายและการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า การใช้อุปกรณ์เครื่องช่วยต่างๆ การลดน้ำหนัก (วิไล.2557.) จากข้อมูลการสำรวจผู้สูงอายุของ อสม.ในชุมชน ปี 2558 พบว่าผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมร้อยละ 97.52 กลุ่มติดบ้านร้อยละ 1.24 และกลุ่มติดเตียงร้อยละ 1.24 และจากการคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมพบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ร้อยละ55.28 ไม่มีอาการปวดเข่าและร้อยละ44.72 มีอาการปวดเข่าประวัติการเจ็บป่วยพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนร้อยละ 75.16มีโรคประจำตัว และร้อยละ24.84ไม่มีโรคประจำตัว ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนตลาดใต้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุจึงจัดทำโครงการชุมชนตลาดใต้ ห่วงใยผู้สูงวัย ลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุในชุมชนได้ทราบถึงวิธีการต่างๆ ในการดูแลตนเอง เพื่อชะลอ/ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม อันส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมการลดอาการปวดเข่าด้วยการพอกและประคบสมุนไพร และการบริหารข้อเข่า
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแล/ส่งต่อโรงพยาบาล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมลดอาการปวดเข่าด้วยการพอกและประคบสมุนไพรและการบริหารข้อเข่า สามารถดูแลตนเองได้ในระดับหนึ่ง
    2. ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลรักษา/ส่งต่อโรงพยาบาล

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. คัดกรอง/ประเมินข้อเข่าเสื่อม โดย อสม.

    วันที่ 1 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมคัดกรองประเมินข้อเข่าเสื่อม  โดย อสม.ในชุมชนตลาดใต้  ซึ่งมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน  134 คน  คิดเป็นร้อยละ  81.21  (ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน จำนวน  165 คน)  มีผลจากการคัดกรอง ดังนี้     1.1 ผลการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมเบื้องต้น  พบว่า - มีอาการปวดเข่า จำนวน  63  คน - ไม่มีอาการปวดเข่า จำนวน  71  คน     1.2 ผลการประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม - ยังไม่พบอาการผิดปกติ จำนวน  89 คน - เริ่มมีอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน  28 คน - มีอาการโรคข้อเข่าเสื่อมระดับปานกลาง จำนวน  13 คน - เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมระดับรุนแรง จำนวน  4  คน

     

    50 134

    2. อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาปวดเข่า

    วันที่ 2 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีอาการปวดเข่า จำนวน  50 คน เมื่อวันที่  2 สิงหาคม  2560  ณ  ชุมชนตลาดใต้  ในเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ การดูแลป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และสาธิต เรื่อง วิธีการทำลูกประคบสมุนไพรลดปวดเข่า  โดยมีวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว 

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมคัดกรองประเมินข้อเข่าเสื่อม  โดย อสม.ในชุมชนตลาดใต้  ซึ่งมีผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองจำนวน  134 คน  คิดเป็นร้อยละ  81.21  (ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่จริงในชุมชน จำนวน  165 คน)  มีผลจากการคัดกรอง ดังนี้     1.1 ผลการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมเบื้องต้น  พบว่า

    - มีอาการปวดเข่า จำนวน  63  คน - ไม่มีอาการปวดเข่า จำนวน  71  คน     1.2 ผลการประเมินระดับความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อม - ยังไม่พบอาการผิดปกติ จำนวน  89 คน - เริ่มมีอาการของโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน  28 คน - มีอาการโรคข้อเข่าเสื่อมระดับปานกลาง จำนวน  13 คน - เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมระดับรุนแรง จำนวน  4  คน 2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีอาการปวดเข่า จำนวน  50 คน เมื่อวันที่  2 สิงหาคม  2560  ณ  ชุมชนตลาดใต้  ในเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ การดูแลป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย และสาธิต เรื่อง วิธีการทำลูกประคบสมุนไพรลดปวดเข่า  โดยมีวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมการลดอาการปวดเข่าด้วยการพอกและประคบสมุนไพร และการบริหารข้อเข่า
    ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุในชุมชนร้อยละ 80ได้รับการตรวจคัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม 2. ผู้สูงอายุในชุมชนที่มีปัญหาปวดเข่าเข้ารับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรม

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแล/ส่งต่อโรงพยาบาล
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100ของผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแล/ส่งต่อ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อมการลดอาการปวดเข่าด้วยการพอกและประคบสมุนไพร และการบริหารข้อเข่า (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหาข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแล/ส่งต่อโรงพยาบาล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนตลาดใต้ห่วงใยผู้สูงวัยลดปวดเข่า ด้วยการพอกประคบสมุนไพร ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6895-02-19

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวราพร ช่วยแจ้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด