กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กองทุนสุขภาพชุมชนหลาโป

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-02-41 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L6895-02-41 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภัยเงียบของโรค Metabolic โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง) ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมากซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการและเสียชีวิต  ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแลสุขภาพของคนไทยที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต ดังจะเห็นได้จากสถานบริกาสาธารณสุข ทั้งของภาครัฐเอกชนและสถานบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิและตติยภูมิ ต่างแออัดไปด้วยผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ส่งผลให้งบประมาณที่รัฐจัดสรรให้ สำหรับโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าตามรายหัวประชากรจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เพียงพอต่อการใช้จ่ายด้านยา บุคลากร การจัดสถานที่และเครื่องมือแพทย์ต่าง ๆ ในขณะที่งบประมาณของประเทศมีอยู่อย่างจำกัด การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค Metabolic ในชุมชนโดยมีการคัดกรองพฤติกรรมความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งมีเป้าหมายเป็นประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก และการวัดเส้นรอบเอว ประเมินดัชนีมวลกาย การเจาะน้ำตาลในเลือด เพื่อประเมินความเสี่ยงเบื้องต้น และหากพบความเสี่ยงจะมีการประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อประเมินและติดตามต่อไป ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนหลาโป เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน จึงจัดทำโครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และเห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/วามดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปในชุมชน ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชนได้รับความรู้ และมีความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และดูแลสุขภาพตนเองได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/วามดันโลหิตสูง

วันที่ 1 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชน  (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย/เจาะหาระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว)  เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ/คำแนะนำที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชน  (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย/เจาะหาระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว)  เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ/คำแนะนำที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด  มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น  จำนวน  188  คน

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน/ประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
  • พิธีเปิดโครงการ
  • บรรยายเรื่อง  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายเรื่อง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส 1 ฟ
  • พักรับประทานอาหารกลางวัน
  • บรรยายเรื่อง  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม...ลดโรค  และทดสอบความเค็มของอาหาร
  • พักรับประทานอาหารว่าง
  • บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  สมาธิบำบัด...ลดโรค  (SKT)
  • ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้
  • ประเมินความพึงพอใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน  จำนวน  50  คน  เมื่อวันที่  27  สิงหาคม  2563  ณ  ที่ทำการชุมชนหลาโป-หลังควน  มีผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน  50  คน  โดยให้ความรู้เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม...ลดโรค  และทดสอบความเค็มของอาหาร  พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  สมาธิบำบัด...ลดโรค  (SKT)  โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้และโรงพยาบาลกันตัง  มาให้ความรู้ดังกล่าว
  2. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรมจำนวน  50  คน  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน  จำนวน  50 คนผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  83.2  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.16 ซึ่งสามารถจำแนกในแต่ละด้านได้ดังนี้
    2.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.28  คิดเป็นร้อยละ  85.60

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.36  คิดเป็นร้อยละ  86.80 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย  4.26  คิดเป็นร้อยละ  85.20 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.24  คิดเป็นร้อยละ  84.80 2.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.10  คิดเป็นร้อยละ  82.00
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.20  คิดเป็นร้อยละ  84.00
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.08  คิดเป็นร้อยละ  81.60 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.02  คิดเป็นร้อยละ  80.40 2.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.04  คิดเป็นร้อยละ  80.80 2.4  ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.20  คิดเป็นร้อยละ  84.00

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ดำเนินการคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย/เจาะหาระดับน้ำตาลจากปลายนิ้ว)  เพื่อประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยปฏิบัติตามมาตรการ/คำแนะนำที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด มีประชาชนในชุมชนได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพเบื้องต้น จำนวน 188 คน
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มเสี่ยงในชุมชน จำนวน 50 คน เมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2563 ณ ที่ทำการชุมชนหลาโป-หลังควน มีผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 50 คน โดยให้ความรู้เรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดหวาน ลดมัน ลดเค็ม...ลดโรค และทดสอบความเค็มของอาหาร พร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง สมาธิบำบัด...ลดโรค (SKT) โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้และโรงพยาบาลกันตัง มาให้ความรู้ดังกล่าว
  3. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 50 คน ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 50 คนผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 83.2 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.16 ซึ่งสามารถจำแนกในแต่ละด้านได้ดังนี้
    3.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 คิดเป็นร้อยละ 85.60

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.36 คิดเป็นร้อยละ 86.80 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.26 คิดเป็นร้อยละ 85.20 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.24 คิดเป็นร้อยละ 84.80 3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.10 คิดเป็นร้อยละ 82.00
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84.00
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.08 คิดเป็นร้อยละ 81.60 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.02 คิดเป็นร้อยละ 80.40 3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.80 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.80 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.04 คิดเป็นร้อยละ 80.80 3.4 ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.20 คิดเป็นร้อยละ 84.00 4. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ ทั้งสิ้นจำนวน 27,300.- บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เห็นความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/วามดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนหลาโป ห่วงใย...ใส่ใจสุขภาพลดเสี่ยง เลี่ยงโรคเรื้อรัง ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L6895-02-41

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองทุนสุขภาพชุมชนหลาโป )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด