กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ


“ โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563 ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะมิยอหลังเก่า

หัวหน้าโครงการ
นายมูฮัมหมัด หะยีเจ๊ะเล๊าะ

ชื่อโครงการ โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะมิยอหลังเก่า จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3009-02-17 เลขที่ข้อตกลง 017/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะมิยอหลังเก่า

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านกะมิยอหลังเก่า รหัสโครงการ 63-L3009-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล
          เด็กและเยาวชนที่อยู่ในชุมชนเป็นเป็นทรัพยากรและกำลังสำคัญของการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง แต่หากกระบวนการพัฒนาเยาวชนในชุมชนถูกทำลายด้วยสิ่งเสพติด ชุมชนและประเทศชาติจะสูญเสียทั้งทรัพยากรมนุษย์และโอกาสพัฒนาสังคม ฉะนั้นปัญหาปัญหายาเสพติดในชุมชนเป็นเรื่องที่สำคัญที่จะต้องเร่งดำเนินการ ด้วยวิธีการพัฒนาเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกันโดยการมีคุณธรรม และจริยธรรม เชื่อมโยงกับหลักคำสอนของศาสนาอิสลามที่ให้ความสำคัญกับสิ่งของที่จะไปทำลายสติปัญญา ซึ่งจะต้องมีการพัฒนาเยาวชนโดยการสร้างกำแพงแห่งความศรัทธาที่มั่นคงและถูกต้อง สร้างสำนึกแห่งความรับผิดชอบ จุดประกายแห่งความเชื่อมั่นและความหวัง ปรับปรุงและพัฒนาให้เยาวชนสร้างสังคมให้มีคุณภาพ โดยการล้อมรั้วด้วยความรักให้คุณค่าและความเอาใจใส่แก่เยาวชนอย่างถูกต้อง ต่อเนื่องและครบวงจรจากความร่วมมือทุกภาคส่วนทั้งระดับครอบครัว และชุมชน และเพื่อตอบโจทย์การพัฒนาเยาวชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการกระทำความผิด คือ เด็กประพฤติตนไม่สมควร เด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่จะชักนำไปในทางกระทำความผิดกฎหมายหรือขัดศีลธรรมอันดีหรืออยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่อันอาจชักนำไปในทางเสียหาย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก 2546 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันในการดำรงชีวิตของเด็กและเยาวชน และส่งเสริมความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายให้มีส่วนในการพัฒนาเด็กและเยาวชน ตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 การพัฒนาสังคมให้เข้มแข็งพร้อมรับความเปลี่ยนแปลง ตามยุทธศาสตร์กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปี 2555-2559 และสร้างความมั่นคงในการดำรงชีวิตของประชาชน สังคม และสร้างความเชื่อมั่นต่อรัฐ โดยกลยุทธ์เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ตามยุทธศาสตร์จังหวัดปัตตานี 2557-2560 ซึงปัจจุบันเยาวชนของประเทศไทยกำลังประสบปัญหายาเสพติดอย่างรุนแรง สถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด ได้กลายเป็นปัญหาระดับชาติ สำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และสำนักรัฐมนตรีได้ประมาณจำนวนผู้ติดยาและผู้ใช้ยาเสพติดระดับประเทศประมาณ 3 ล้านคน โดยแบ่งกลุ่มผู้เสพแต่ยังไม่ติด จำนวน 2.7 ล้านคน และจำนวนผู้ติดยา จำนวน 0.3 ล้านคน ปัญหายาเสพติดได้แพร่ขยายอย่างกว้างขวางไปทั่วประเทศตั้งแต่ปี 2535 2537 2539 และปี2543 มีหมู่บ้านประสบปัญหายาเสพติดเพิ่มเป็น 18,696 20,825 23,841 และ 36,197 แห่ง โดยมีอัตราการเพิ่มเป็น ร้อยละ 11.38 14.48 และ34.1 ตามลำดับ จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่ปี 2557-2558 มีการจับกุมคดียาเสพติด 6,268 ข้อหา โดยส่วนใหญ่เป็นผู้ครอบครอง และผู้เสพ เป็นหลัก ยาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุด คือ กระท่อม โคเดอีน และยาบ้า (สำนักงานคณะกรรมการการป้องกันและปราบปรามยาเสพ,2558) ในหมู่ที่ 2 3 และหมู่ที่ 6 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้มีเยาวชนในพื้นที่ จำนวน 65 คน ที่ออกจากระบบการศึกษาที่ไม่ได้เรียนหนังสืออาศัยอยู่ใน ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการกระทำความผิด หากไม่มีแนวทางให้กับเยาวชนเหล่านี้ อาจจะทำให้สิ่งแวดล้อมจากการแพร่ระบาดของยาเสพติด การถูกเพื่อนที่ไม่ดีชักชวน การยากลองไปสู่สิ่งที่ไม่ดีมีโอกาสมากที่จะเกิดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด ปัจจุบันปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดเข้าไปสู่กลุ่มเด็กและเยาวชน ผู้ติดยาเสพติดมากกว่าร้อยละ 50 เป็นกลุ่มผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี (มาโนชญ์ พัชนี,2546) ทำให้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคุณภาพชีวิตของประชากรทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและความมั่นคงของประเทศ เนื่องจากยาเสพติดได้บั่นทอนสุขภาพผู้เสพทั้งทางกาย อารมณ์ สังคม และจิตใจ ทำให้ผู้เสพกลายเป็นคนอ่อนแอ ไร้สมรรถภาพมีความทุกข์ทรมาน ไม่สามารถที่จะใช้ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างปกติได้ และก่อปัญหาสังคมนานาประการ โดยเป็นปัญหาเรื้อรังมานานนับร้อยปี และทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น
ด้วยเหตุนี้ทางชมรมคนรักษ์กะมิยอซึ่งเป็นองค์กรของคนตำบลกะมิยอ เกิดจากความร่วมมือของผู้ที่จบการศึกษาทั้งระดับอุดมศึกษาทั้งทางสามัญและศาสนา และภาคเอกชนร่วมมือกันจัดตั้งกลุ่มขึ้นมาโดยมีเจตนารมณ์ส่งเสริมกิจกรรมทางด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตเยาวชน ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส เด็กกำพร้า ผู้สูงอายุ และสังคมสุขภาวะ ซึ่งได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาเยาวชนกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการกระทำความผิดให้กลับคืนสู่ชุมชนเพื่อสร้างสังคมให้มีคุณภาพ และเป็นทรัพยากรบุคคลเป็นแกนนำการสร้างครอบครัวและชุมชนให้เป็นสังคมสุขภาวะ จึงได้จัดทำโครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างให้เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด และการใช้ชีวิตในสังคมให้มีคุณธรรม จริยธรรม
วิธีดำเนินการ
๑. กิจกรรมฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว จำนวน 6 ครั้ง ๙ ประเด็น ๑.๑ ครั้งที่ ๑ ประเด็น หลักการอิสลามกับยาเสพติด ๑.๒ ครั้งที่ ๒ ประเด็น ยาเสพติดเป็นสิ่งที่ต้องห้ามยิ่งกว่าสุราเสียอีก ๑.๓ ครั้งที่ ๓ ประเด็น พิษภัยของยาเสพติด สะเทือนถึงอีมาน และเป็นหายนะของสังคม ๑.๔ ครั้งที่ ๔ ประเด็น เยาวชนกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ๑.๕ ครั้งที่ ๕ ประเด็น เยาวชนกับจิตอาสา ๑.๖ ครั้งที่ ๖ ประเด็น เยาวชนกับความยำเกรง ๑.๗ ครั้งที่ ๗ ประเด็น เยาวชนกับพิษภัยของบุหรี่ ๑.๘ ครั้งที่ ๘ ประเด็น เยาวชนที่มีคุณธรรม ๑.๙ ครั้งที่ ๙ ประเด็น เยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ๒. เยาวชนร่วมจัดกิจกรรมจิตอาสาในชุมชน ได้แก่ เมาลิดินนบี กาแฟยามเช้า เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ งานผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างให้เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด ให้ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
  2. เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
  3. เพื่อพัฒนาเยาวชนสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว จำนวน 6 ครั้ง
  2. กิจกรรมเยาวชนร่วมจัดกิจกรรมจิตอาสาในชุมชน ได้แก่ เมาลิดินนบี กาแฟยามเช้า เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ งานผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ๒. เยาวชนสามารถเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนงานจิตอาสาในชุมชน
๓. เยาวชนมีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. เยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ๒. เยาวชนสามารถเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนงานจิตอาสาในชุมชน
๓. เยาวชนมีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างให้เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด ให้ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด ให้ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
0.00

 

2 เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
ตัวชี้วัด : พัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาเยาวชนสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
ตัวชี้วัด : เยาวชนสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างให้เด็กและเยาวชนมีภูมิคุ้มกันยาเสพติด ให้ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อพัฒนาเยาวชนให้มีคุณลักษณะ ได้แก่ มีคุณธรรมจริยธรรม จิตอาสา และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด (3) เพื่อพัฒนาเยาวชนสามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว  จำนวน 6 ครั้ง (2) กิจกรรมเยาวชนร่วมจัดกิจกรรมจิตอาสาในชุมชน ได้แก่ เมาลิดินนบี กาแฟยามเช้า เดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ งานผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563

รหัสโครงการ 63-L3009-02-17 รหัสสัญญา 017/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการฮาลาเกาะฮ์เพาะคุณธรรม ปลุกเยาวชนรุ่นใหม่หัวใจสีขาว ประจำปี 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3009-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูฮัมหมัด หะยีเจ๊ะเล๊าะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด