กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
น.ส. พิชชานันท์ สุขเกษม

ชื่อโครงการ โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 64-L6895-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจำนวนผู้พิการทางจิตหรือผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเพิ่มจำนวนมากขึ้น ระบบศูนย์กลางการให้บริการผู้ป่วยจิตเวชของประเทศไทย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข รายงานว่าในปีงบประมาณ 2562 มีจำนวนผู้พิการทางจิตเข้ารับบริการที่หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 1,316,252 คน สภาพเช่นนี้เนื่องจากปัญหาด้านสังคมและเศรษฐกิจมีความยุ่งยากและซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ มีผลต่อการปรับตัวของประชาชน และที่สำคัญยังส่งผลให้ผู้พิการทางจิต ซึ่งมีปัญหาการปรับตัวอยู่แล้ว    ขาดปัจจัยการดูแลช่วยเหลือให้สามารถรักษาภาวะสุขภาพและอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีคุณภาพ แม้ในกระบวนการบำบัดรักษาผู้พิการทางจิตในโรงพยาบาล มีเป้าหมายให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตร่วมกับครอบครัวและชุมชนได้มากขึ้น โดยได้เพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดรักษาทั้งด้านการให้ยา และการบำบัดด้านจิตสังคม  แต่ผลสำเร็จจะเกิดขึ้นกับผู้พิการทางจิต หากได้รับการดูแลต่อเนื่อง และได้ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเช่นคนทั่วไป ภายหลังการบำบัดรักษาหรือผู้ป่วยกลับสู่ชุมชนแล้วยังมีอุปสรรค ผู้ป่วยกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ยังขาดโอกาสจากชุมชนในการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้สามารถมีชีวิตในสังคมเช่นคนทั่วไป ซึ่งอุปสรรคส่วนหนึ่งมีสาเหตุจาก  ตัวผู้ป่วยเอง เช่น การขาดความมั่นใจในการดำเนินชีวิตร่วมกับครอบครัวและผู้อื่น นอกจากนี้สังคมแวดล้อม ยังขาดความรู้ความเข้าใจหรือไม่เห็นความสำคัญของผู้ที่เจ็บป่วยหรือพิการทางจิตที่นับวันจะมีจำนวนและ  มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น บุคคลในชุมชน รู้สึกกลัว รังเกียจ ไม่เชื่อมั่นในความสามารถของผู้ป่วยหรือคาดหวังกับผู้ป่วยมากเกินความสามารถของผู้ป่วย มีทัศนคติในทางลบต่อบุคคลที่เจ็บป่วยหรือพิการทางจิต    สภาพเหล่านี้ยิ่งทำให้ผู้พิการทางจิตไม่ได้รับการยอมรับจากสังคม และผู้พิการทางจิตยิ่งขาดโอกาสในการพัฒนาตนเองในการอยู่ร่วมในสังคมมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ผู้พิการทางจิตเหล่านี้กลายเป็นผู้พิการทางจิตที่เป็นภาระหรือเป็นปัญหาของครอบครัวและสังคมในที่สุด จากข้อมูลงานสุขภาพจิตโรงพยาบาลกันตัง ประจำปีงบประมาณ 2563 พบว่ามีผู้พิการ  ทางจิตหรือผู้ป่วยจิตเวชในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จำนวน 30 ราย ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้พิการทางจิตให้ทุเลาจากการเจ็บป่วย จึงได้จัดทำโครงการร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564 ขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของผู้ป่วยจิตเวช ป้องกันการเกิดอาการแทรกซ้อนที่อาจเป็นอันตราย ส่งผลให้ผู้ป่วยจิตเวชสามารถดำเนินชีวิตในชุมชนได้ตามศักยภาพ และเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมได้มากที่สุด อีกทั้งยัง ทำให้เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยจิตเวชขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ
  2. ผู้ดูแลผู้ป่วยมีองค์ความรู้และมีทักษะในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 11 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ก่อนการอบรม
  • บรรยายเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช
  • พักรับประานอาหารว่าง
  • แบ่งกลุ่มเรียนรู้ 2 ฐาน ฐานที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช ฐานที่ 2 การใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช
  • สรุปผลการเรียนรู้/ประเมินความรู้หลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมคณะผู้บริหาร สำนักงานเทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 2 ฐาน ดังนี้ ฐานที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และฐานที่ 2 การใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม  ผลการประเมิน มีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และการใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช (รูปแบบคำถาม คือ การพิจารณาข้อความ และทำเครื่องหมายถูก-ผิดหน้าข้อความ จำนวน 10 ข้อๆละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน)  สามารถสรุปผลการประเมิน  ได้ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 20 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 2 คน  รองลงมา คือ 7 คะแนน จำนวน 8 คน  6 คะแนน จำนวน 9 คน      และ 5 คะแนน จำนวน 1 คน  จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่  ได้คะแนนมากที่สุด คือ 8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 10  รองลงมา คือ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 40  6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45  และ 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5
- หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 20 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 10 คะแนน จำนวน 2 คน  รองลงมา คือ 9 คะแนน จำนวน 7 คน  8 คะแนน จำนวน 9 คน    และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 7 คะแนน จำนวน 2 คน

 

20 0

2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

วันที่ 17 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช ซึ่งมีผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน จำนวน 30 ราย รายละเอียดดังนี้ - วันที่ 17 มีนาคม 2564 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย
- วันที่ 18 มีนาคม 2564 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย
- วันที่ 19 มีนาคม 2564 ลงเยี่ยมผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 10 ราย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 20 คน เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมคณะผู้บริหาร สำนักงานเทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช พร้อมเข้าฐานเรียนรู้ 2 ฐาน ดังนี้ ฐานที่ 1 การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และฐานที่ 2 การใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
  2. มีการประเมินความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการประเมิน มีดังนี้ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้ป่วยจิตเวช และการใช้ยาในผู้ป่วยจิตเวช (รูปแบบคำถาม คือ การพิจารณาข้อความ และทำเครื่องหมายถูก-ผิดหน้าข้อความ จำนวน 10 ข้อๆละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 10 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี้

- ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 20 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 2 คน รองลงมา คือ 7 คะแนน จำนวน 8 คน 6 คะแนน จำนวน 9 คน  และ 5 คะแนน จำนวน 1 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่ ได้คะแนนมากที่สุด คือ 8 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 10 รองลงมา คือ 7 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 40 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45  และ 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5 ตามลำดับดังตาราง - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 20 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนสูงสุด อยู่ที่ 10 คะแนน จำนวน 2 คน รองลงมา คือ 9 คะแนน จำนวน 7 คน 8 คะแนน จำนวน 9 คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 7 คะแนน จำนวน 2 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้คะแนนประเมินความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยจิตเวชได้รับการเยี่ยมบ้านพร้อมดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับความรู้และทักษะในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณตามสภาพผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวช

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ร่วมใจ ใส่ใจดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปี 2564 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 64-L6895-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส. พิชชานันท์ สุขเกษม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด