กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ “พ่นหมอกควัน หยุดยุงลายป้องกันภัย โรคไข้เลือดออกในตำบลบาราเฮาะ” ประจำปี 2564
รหัสโครงการ L3015-64-05-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 24 กันยายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2563 - 24 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 24 กันยายน 2564
งบประมาณ 54,360.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฟารีดะห์ มะเกะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.829,101.267place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขปัญหาหนึ่ง ความรุนแรงของโรคสามารถทำให้ผู้ป่วย ถึงแก่ชีวิตได้ แม้มีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ร่วมกันป้องกัน ควบคุมไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคอยู่เป็นประจำแต่ก็ไม่สามารถทำให้โรคนี้หมดไปได้ กำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อขยายพันธุ์ต่
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก ๒. เพื่อไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ ๓. เพื่อให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
  1. ผู้เข้าอบรมร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจมีความตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 54,360.00 0 0.00
1 มี.ค. 64 โครงการ“พ่นหมอกควัน หยุดยุงลายป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกในตำบลบาราเฮาะ” ประจำปี ๒๕64 0 54,360.00 -

1.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ 2.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้แก่ รพสต. เพื่อขอรับการแนะนำสนับสนุนเจ้าหน้าที่ร่วมดำเนินการตามโครงการ 3.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทราบและวางแผนการดำเนินงาน 4.ดำเนินการช่วยเหลือประชาชนที่ประสบอุทกภัย 5.ติดตามประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถกำจัดยุงลายไม่ให้แพร่เชื้อหรือทำการขยายพันธุ์ต่อไปได้อีก
  2. สามารถไม่ให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. สามารถให้ประชาชนได้ตื่นตัวตระหนักถึงอันตรายจากโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ