กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหนังศรีษะ เส้นผม และผิวหนังนักเรียน
รหัสโครงการ 64-L7931-2-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดไตรสามัคคี
วันที่อนุมัติ 16 ธันวาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นายภูวดล เม่งช่วย ผอ.โรงเรียนวัดไตรสามัคคี 2.นายสุนันท์ คลายทุกข์ ครูโรงเรียนวัดไตรสามัคคี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาวง อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.761017141,99.51451581place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจ ติดตามสุขภาพนักเรียนโรงเรียนวัดไตรสามัคคี ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เป็นรายบุคคล พบว่าในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 มีนักเรียนหญิงเป็นเหา จำนวนทั้งงสิ้น 98 คน คิดเป็นร้อยละ 22.32 และจากการสำรวจล่าสุด ภาคเรียนที่ 2 (เดือนพฤศจิกายน) ปีการศึกษา 2562 พบว่า มีนักเรียนเป็นเหา 80 คน คิดเป็นร้อยละ 18.22 จำแนกเป็นรายเก่า จำนวน 68 คิดเป็นร้อยละ 15.50 และรายใหม่ จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 2.73 แสดงว่ามีนักเรียนที่หายจากการเป็นเหาซึ่งได้รับการแก้ปัญหาในภาคเรียนที่ 1 จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 4.10 ซึ่งการที่นักเรียนเป็นเหา ทำให้เป็นที่รังเกียจของเพื่อนๆ ในชั้นเรียน นักเรียนขาดความมั่นใจ เสียบุคลิกภาพ และมีผลกระทบต่อการเรียนเป็นอย่างมาก จากปัญหาดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่านักเรียนไม่เห็นความสำคัญในการดูแลรักษาสุขภาพ และเนื่องมาจากนักเรียนบางส่วนฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี ไม่มีเงินสำหรับรักษา ประกอบกับไม่ได้รับการดูแลรักษาสุขภาพจากครอบครัวเท่าที่ควร     โรงเรียนวัดไตรสามัคคีได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพหนังศีรษะขึ้น เพื่อแก้ปัญหาเหาให้กับนักเรียนกลุ่มดังกล่าวให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพหนังศีรษะและการเป็นเหา

นักเรียนร้อยละ 100 ด้รับการตรวจสุขภาพหนังศีรษะและการเป็นเหา

0.00
2 เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองได้รับความรู้และรู้จักวิธีการปฏิบัติตนเพื่อให้ปราศจากเหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

นักเรียนร้อยละ 100 ที่เป็นเหาได้รับความรู้และรู้จักวิธีการปฏิบัติตนเพื่อให้ปราศจากเหาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระบบในการกำจัดเหา

นักเรียนร้อยละ 100 ที่เป็นเหา ได้รับการแก้ไขอย่างเป็นระบบในการกำจัดเหา

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 430 20,000.00 0 0.00
3 พ.ค. 64 - 16 ก.ย. 64 อบรมให้ความรู้ 150 6,650.00 -
1 - 30 มิ.ย. 64 แก้ปัญหานักเรียนที่เป็นเหา 80 13,350.00 -
2 มิ.ย. 64 - 16 ก.ย. 64 ตรวจสุขภาพหนังศีรษะและการเป็นเหา 200 0.00 -
16 - 29 ก.ย. 64 การติดตามและประเมอนผล 0 0.00 -
  • ตรวจสุขภาพหนังศีรษะและการเป็นเหา
      - ให้ความรู้   - ทำการกำจัดเหานักเรียน โดยการตัดผมและใช้ยากำจัดเหา ภาคเรียนละ 1 ครั้ง (2 ครั้ง/ปี)
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนโรงเรียนวัดไตรสามัคคีมีสุขภาพหนังศีรษะ เส้นผมดีขึ้นและปราศจากเหา
  2. นักเรียนโรงเรียนวัดไตรสามัคคีมีสุขภาพผิวหนังที่ดี ไม่มีโรคติดต่อ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ม.ค. 2564 09:58 น.