กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอาซีกีน เจะซู

ชื่อโครงการ โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3022-01-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 ตุลาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ L3022-01-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 ตุลาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาวะ (Well-being) ทั้งมิติทางกาย ใจ สังคม และปัญญา (จิตวิญญาณ) และมิติของคน ครอบครัว และสังคมมากขึ้น โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็ก 0–5 ปี ซึ่งเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการรับรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป
      ดังนั้นเพื่อให้เด็ก 0–5 ปี มีสุขภาพดีเด็กวัยนี้ควรได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเป็นองค์รวมและครอบคลุมทั้ง 4 ด้านได้แก่ การเจริญเติบโตสมส่วนตามวัย พัฒนาการด้ามสมองตามวัย การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันไม่ให้มีฟันผุ และรับวัคซีนครบตามกำหนด ผลการดำเนินงานดูแลสุขภาพกลุ่มเด็กสมาร์ทคิดส์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไหม้(เด็กสมาร์ทคิดส์ คือ เด็กเกิดตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ซึ่งมีจำนวน 87 คน) อายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563 ไตรมาส 4 (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2563) พบว่า(1) งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ร้อยละ 82.75 (2) งานเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 52.87 (3)งานส่งเสริมพัฒนาการ ทุกคนมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 97.7 และ(4)การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน ฟันผุร้อยละ 98.85 ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลการดำเนินงานการดูแลเด็กสมาร์ทคิดส์บรรลุเป้าหมาย ร้อยละ ๘๐ ทุกด้าน เว้นแต่ผลงานด้านสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไม่ได้เป็นไปตามเป้าหมายด้วยเหตุที่มีเด็กที่ไม่ยินยอมในการรับวัคซีนโดยผู้ปกครองซึ่งจะต้องดำเนินการให้ความรู้กับผู้ปกครองต่อไป และผลงานด้านเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่ยังเป็นปัญหา เด็กไม่สูงดีสมส่วนตามวัยเป็นจำนวนอีกหลายราย จึงจำเป็นต้องมีการแก้ไขในเรื่องของการรับประทานอาหารควบคู่กับการละเล่นเพื่อความยืดหยุ่นของร่างกาย และกลุ่มวัยในเด็กที่ต้องดำเนินการแก้ไข เป็นเด็กที่สามารถเดินและกระโดดได้ อายุตั้งแต่ ๑ ปี ๖ เดือน จนถึงอายุ ๕ ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กสมาร์ทคิดส์ตามโครงการปัตตานีสมาร์ทคิดส์ ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี       จากการวิจัยการเพิ่มความสูงของเด็กวัยก่อนปฐมวัยต่าง ๆ อย่างเช่น
      ส่วนสูงของเด็กเกิดขึ้นจากหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ การนอน อาหาร เป็นต้น การออกกำลังกายที่เหมาะสมและถูกต้อง ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการช่วยกระตุ้นให้ลูกมีส่วนสูงเพิ่มมากขึ้นได้ โดยหลักการง่าย ๆ สำหรับกีฬาที่จะเพิ่มความสูงให้ลูก คือเลือกกีฬาที่มีแรงกระแทกจากการกระโดด ซึ่งเป็นเหมือนการกระตุ้นข้อต่อกระดูกให้มีการขยายตัวขึ้น เพิ่มความยาวของกระดูกสันหลัง เช่น ๑)ท้าลองกระโดดเชือกหน้าบ้าน การกระโดดเชือกเป็นการออกกำลังง่าย ๆ ที่ทำที่ไหนก็ได้ ใช้อุปกรณ์แค่เชือกเส้นเดียว และการกระโดดช่วยให้ร่างกายส่วนต่าง ๆ ของลูกทั้งช่วงลำตัว ช่วงขา และช่วงหลังได้ยืดเหยียดไปพร้อม ๆ กัน ๒)การโหนบาร์ที่สนามเด็กเล่น พาลูกออกไปวิ่งเล่นในสนามเด็กเล่น แล้วอย่าลืมให้ลูกได้ปีนโหนบาร์เพื่อเป็นการยืดกล้ามเนื้อหลังอย่างสม่ำเสมอ การโหนบาร์ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมือและแขนได้เป็นอย่างดีเลย (กีฬาช่วยเพิ่มความสูงให้ลูก คุณแม่รู้แล้วพาลูกไปเล่นด่วน!(ออนไลน์).(๒๕๖๑).สืบค้นจาก : https : //www.nestle.co.th/th/nhw/news/[๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓])       พัฒนาการดานรางกายของเด็กปฐมวัยหลังจากที่ไดรับการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหว เชิงแอโรบิค มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นรอยละ 5 เปนรอยละ 22 และทํานองเดียวกันทักษะ การเดิน การยืน การวิ่ง การกระโดด มีทักษะเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นทุกรายทักษะ (กิตติมา เฟองฟู. (2550) การสงเสริมพัฒนาการทางดานรางกายของเด็กปฐมวัยโดยใชกิจกรรม เคลื่อนไหวเชิงแอโรบิค ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม : รองศาสตราจารย ดร. สิริมา ภิญโญอนนัตพงษ, รองศาสตราจารย ดร. บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ.)       อย่างไรก็ตามแม้จากรายงานขนาดของปัญหาจะลดลง แต่ก็ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ ระดับภาคและเป้าหมายแผนสาธารณสุขฉบับที่ 10 ที่กำหนดไว้ว่า ภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี ไม่เกินร้อยละ 7 ซึ่งพัฒนาการทางด้านร่างกายนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต       จากรายงานข้างต้นปัญหาในเด็กสมาร์ทคิดส์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไหม้ จะมีปัญหาในด้านภาวะโภชนาการเป็นสำคัญและยังไม่ผ่านเด็กสมาร์ทคิดส์สูงดีสมส่วนจากทั้งหมด ๔ ด้าน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านป่าไหม้ จะดำเนินการทำโครงการเพื่อเพิ่มความสูงในเด็กสมาร์ทคิดส์ที่มีทุพโภชนาการ ซึ่งเป็นเด็กที่มีอายุ ๑ ปี ๖ เดือน ถึงอายุ ๕ ปีมีภาวะไม่สูงดีสมส่วนจำนวน 18 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 18 คน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ “ เพิ่มความสมส่วนให้หนูน้อย มาโหนกระโดดและก้าวตั้งเต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กสมาร์ทคิดส์อายุ 0-5 ปี ในพื้นที่บ้านป่าไหม้และดอนทรายมีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วนตามเกณฑ์อายุ
  2. ผู้ปกครองมีการทำอาหารเสริมและจัดให้เด็กมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 18 คน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน  จำนวน 18 คน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ “ เพิ่มความสมส่วนให้หนูน้อย มาโหนกระโดดและก้าวตั้งเต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กเล็ก และเด็กวัยก่อนเรียน ปีงบประมาณ 2564 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ L3022-01-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรอาซีกีน เจะซู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด