กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อโควิด - 19 ในโรงเรียนบ้านล่องควน เพื่อรองรับการเปิดเรียนแบบ on - site

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

โรงเรียนบ้านล่องควน

โรงเรียนบ้านล่องควน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 )ซึ่งได้แพร่ระบาดเป็นวงกว้างในหลายพื้นที่ ตำบลคูหาอำเภอสะบ้าย้อยจังหวัดสงขลา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19 ) เพื่อให้นักเรียนได้ปิดเรียนแบบno-site โรงเรียนบ้านล่องควนจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา โควิด-19 จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดต่อโควิด-๑๙ ในโรงเรียนบ้านล่องควน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อโควิด-19

 

0.00
2 เพื่อคัดกรองนักเรียนและผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนแบบ no-site

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 34
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ขั้นเตรียมการ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นเตรียมการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑.ประชุมครูและบุคลาการทางการศึกษาที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางในการดำเนินงาน            ๒.จัดทำแผนงานโครงการ ขออนุมัติโครงการและขอความร่วมมือในการดำเนินงานจากเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคูหา  โรงพยาบาลสะบ้าย้อย  และหน่อยงานที่เกี่ยวข้อง            ๓ จัดเตรียมเอกสาร ข้อมูลในการจัดกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์และสถานที

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ขั้นดำเนินการ

ชื่อกิจกรรม
ขั้นดำเนินการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

๑. จัดการคัดกรองตรวจ ATK  ให้กับนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา ให้กับนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษา  ๒ สัปดาห์ต่อครั้ง จนกว่าจะปิดภาคเรียน                   ๒.  จัดอุปกรณ์ในการล้างมือและการป้องกันการติดต่อทางการสัมผัสก่อนเข้าสู่โรงเรียน                   ๓.  จัดอุปกรณ์หน้ากากอนามัย ให้กับนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา
           ๔. สรุปผลการคัดกรอง และการป้องกัน

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 • รายงานกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
• รายงานกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 • สรุปผลโครงการ

ชื่อกิจกรรม
• สรุปผลโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

9.๑สามารถป้องกันและเฝ้าระวังโรคโควิด-๑๙ ในโรงเรียนบ้านล่องควน
9.๒นักเรียน ครูและผู้ปกครองมีความมั่นใจ ในการอยู่ร่วมกันในการจัดการเรียนรู้แบบ no-site


>