กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ในศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา เพื่อรองรับการเปิดเรียนแบบ on - site

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19) ในศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา เพื่อรองรับการเปิดเรียนแบบ on - site

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

ศูนย์เด็กเล็กวัดก่อนเกณฑ์วัดคูหา

ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ทวีความรุ่นแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศโดยเฉพาะในกรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึง 4 จังหวัดในชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ซึ่งได้แพร่ระบาดเป็นวงกว้างในหลายพื้นที่ ตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว เพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เพื่อให้นักเรียนได้เปิดเรียนแบบ on-site ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหาจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ของเด็กนักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้ประกอบอาหาร จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)ในศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา เพื่อรองรับการเปิดเรียนแบบ on-site

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อคัดกรองนักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้ประกอบอาหาร

 

0.00
2 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

 

0.00
3 เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 73
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 17/05/2022

กำหนดเสร็จ 13/06/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1สามารถคัดกรอง นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้ประกอบอาหารให้มีความปลอดภัยในการจัดการเรียนการสอนแบบ on-site
2สามารถป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา
3นักเรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)


>