กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการเท่าทันสื่อรอบรู้ด้านสุขภาพ กาย จิต ดี ห่างไกลภัยออนไลน์ ประจำปี ๒๕๖๕
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมรักสุขภาพตำบลตะลุโบะ
กลุ่มคน
1. นางสาวซัยนับกาเกาะ
2. นายสมันสาเมาะ
3. นางสาวกอฟเซาะ สอเฮาะ
4. นางสาวมารีแยราโมง
5. นางสาวนัยซะมามะ
3.
หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อันเป็นเครื่องมือสมัยใหม่ซึ่งมีประสิทธิภาพมีความจำเป็นอย่างมากโดยเฉพาะในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งยุทธศาสตร์การเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ ในขณะนี้เกือบร้อยละ 90 ของมนุษย์ในปัจจุบันได้มีการใช้สมาร์ทโฟนอย่างแพร่หลาย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลอย่างรวดเร็วและทันเหตุการณ์จากสถิติต่าง ๆ ชี้ให้เห็นว่า ผู้ที่ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนใหญ่นั้นเป็นเด็กและเยาวชนที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี และสะท้อนให้เห็นว่าเด็กและเยาวชนเหล่านี้ได้ใช้เวลาของตนเองเข้าไปในโลกอินเทอร์เน็ตเป็นเวลานาน ซึ่งผลกระทบที่ตามมาหากขาดการควบคุมดูแลจากผู้ปกครอง และบุคคลที่เกี่ยวข้องก็อาจส่งผลเสียต่อเด็กที่ยังรู้เท่าไม่ถึงการณ์จากการใช้สื่อโซเชี่ยลมีเดียเหล่านั้น อย่างไรก็ตามสมาร์ทโฟนยังคงเป็นอุปกรณ์ยอดนิยมของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อพิจารณาในประเด็นของเนื้อหาที่มีอยู่มากกว่าพันล้านเว็บไซต์ทั่วโลกนั้น จะมีทั้งส่วนของเนื้อหาที่เป็นประโยชน์และเนื้อหาที่ก่อให้เกิดโทษ โดยอินเทอร์เน็ตถือเป็นสื่อที่ควบคุมดูแลยากที่สุดทั้งในแง่ของเนื้อหาสาระ และผู้รับสาร ซึ่งทำให้เด็กหรือเยาวชนที่มีวุฒิภาวะไม่เพียงพอต่อการพิจารณาใช้สื่อโซเชี่ยลให้ถูกวิธีอันทำให้เกิดผลเสียต่อการดำรงชีวิตทั้งในด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของเด็ก เยาวชน และคนในสังคมได้ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบกับการศึกษา หรือผลกระทบต่อสังคม ต่อครอบครัว ซึ่งในปัจจุบันการเข้าถึงโซเชี่ยลมีเดียไม่ได้ถูกจำกัดเฉพาะโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือแท็บเล็ตเท่านั้น ผสานกับการให้บริการอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบไร้สายของผู้ให้บริการต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การเข้าสู่โซเชี่ยลมีเดียเป็นเรื่องที่ทำได้อย่างง่ายดายเพราะใครๆก็สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ใน ทุกที่ ทุกเวลา แม้แต่ขณะเดินทาง ดังนั้นการใช้งานอินเทอร์เน็ตของคนในสังคมซึ่งเริ่มจากวัยเด็กจนถึงวัยทำงานโดยเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการเป็นช่องทางในการสื่อสารที่มีความหลากหลายรูปแบบ โดยมีทั้งสื่อที่ช่วยพัฒนาและสื่อที่เสริมสร้างความรุนแรงปะปนกันอยู่ในการใช้อินเทอร์เน็ตซึ่งไม่ได้ทำให้เด็กและคนในสังคมเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เพียงอย่างเดียว แต่ยังสามารถใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อฝึกทักษะทางสมองและทักษะทางความคิดได้อีกด้วย โดยจำเป็นต้องมีการแนะนำวิธีการใช้อินเทอร์เน็ตได้อย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาทางพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมทักษะสำคัญที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพต่อไป จากความสำคัญดังกล่าวชมรมรักสุขภาพจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เท่าทันสื่อปลอม เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ และสื่อบทความที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙0 ประชาชนในตำบลตะลุโบะมีความรู้เท่าทันสื่อปลอม เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ และสื่อบทความที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 90.00
  • 2. เพื่อเพิ่มกลไกการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และบทความที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ เกิดกลไกเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และบทความที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพในพื้นที่ตำบลตะลุโบะ
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 90.00
  • 3. เพื่อรณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและการเสพสื่อ ในช่องทางออนไลน์
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะลุโบะมีตระหนักและความรู้ความเข้าใจเพื่อรู้เท่าทันสื่อด้านสุขภาพและปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ บทความ ที่ผิดกฎหมาย
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 95.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง เท่าทันสื่อรอบรู้ด้านสุขภาพ กาย จิต ดี ห่างไกลภัยออนไลน์
    รายละเอียด

    -ค่าวิทยากร ๑ คนๆละ ๓ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท เป็นเงิน๑,๘๐๐.-บาท -ค่าวิทยากรกระบวนการ ๓ คน จำนวน ๓ ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาทเป็นเงิน๕,๔๐๐.-บาท -ค่าอาหารกลางวันจำนวน5๐คนๆ5๐.-บาท
    เป็นเงิน2,5๐๐.-บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน5๐คนๆละ๒มื้อๆละ๓๕.-บาทเป็นเงิน3,5๐๐.-บาท -ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาดกว้าง1เมตรยาว3เมตรจำนวน๑ผืนเป็นเงิน ๙๐๐.-บาท -ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน3,0๐๐.-บาท


    เป็นเงิน17,1๐๐.-บาท

    งบประมาณ 17,100.00 บาท
  • 2. รณรงค์ให้ความรู้ เชิงปฏิบัติการ เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและการเสพสื่อในช่องทางออนไลน์
    รายละเอียด
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เดินรณรงค์ จำนวน 5๐ คน x ๓๕ บาท x ๑ ครั้ง เป็นเงิน 1,75๐ บาท -แผนพับให้ความรู้เรื่องการเฝ้าระวังและป้องกันการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพและการเสพสื่อในช่องทางออนไลน์ จำนวน ๑๐๐ แผ๋น แผนละ ๗ บาทเป็นเงิน ๗๐๐บาท -ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ขนาดกว้าง1เมตรยาว3 เมตรผืนละ 900 บาทจำนวน๕ผืน เป็นเงิน 4,๕๐๐.บาท

    รวมเป็นเงิน6,95๐.-บาท

    งบประมาณ 6,950.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

8.
สถานที่ดำเนินการ

องค์การบริหารส่วนตำบลตะลุโบะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 24,050.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

-ประชาชนในพื้นที่ตำบลตะลุโบะ มีความรู้เท่าทันสื่อปลอม -เกิดเครือข่ายเด็กดีมีศีลธรรม มีความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง -ทำให้เยาวชนได้ร่วมเรียนรู้และฝึกฝนทักษะในการใช้โซเชียลเน็ตเวิร์คให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาการพัฒนาตนเองและสังคม

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2565
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ รหัส กปท. L3011

อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 24,050.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................