กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ “อบรมให้ความรู้และรณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก”ประจำปี ๒๕๖๕

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

โรงเรียนบ้านลดา

1.นางสาวโรสนานีหะมิงมะ
2. นางรอฮานาศรีสุข
3. นางสาวโซเฟียเจ๊ะอาลี

โรงเรียนบ้านลดา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา
โรงเรียนบ้านลดา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือน พฤษภาคม – มิถุนายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้โรงเรียนบ้านลดาได้เล็งเห็นความสำคัญของโรคไข้เลือดออก เพราะในช่วงวัยที่เป็นไข้เลือดออกจะอยู่ในวันนักเรียน ถ้านักเรียนไม่มีความรู้ วิธีกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย ที่บ้านตนเองและในชุมชน อัตราของผู้ป่วยไข้เลือดออกจะเพิ่มขึ้น จึงเห็นสมควรที่จะให้ความรู้ ความเข้าใจและวิธีกำจัดลูกน้ำยุงลายที่ถูกต้อง ในโรงเรียนบ้านและชุมชนของตนเอง

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง 2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3. เพื่อให้นักเรียนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 4. เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียนเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
  1. ผู้เข้าอบรม ร้อยละ 90มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ90มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3.เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และสามารถสร้างสภาพแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียนเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
156.00 156.00

1. ผู้เข้าอบรม ร้อยละ 90มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
2.ผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ90มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน 36
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/06/2022

กำหนดเสร็จ 15/09/2022

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก 2. ลงพื้นที่ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบริเวณโรงเรียนและร่วมปรับปรุงสภาพแวดล้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
1. อบรมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก 2. ลงพื้นที่ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในบริเวณโรงเรียนและร่วมปรับปรุงสภาพแวดล้อมทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 156 คน252 มื้อเป็นเงิน 7,800 .- บาท

  • ค่าอาหารกลางวันจำนวน 156 คน คนละ 50 บาท*1 มื้อ เป็นเงิน7,800 .- บาท

  • ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน3,600 .- บาท

  • ค่าจ้างทำป้ายไวนิล ขนาด 1 * 3เมตร จำนวน1ผืน เป็นเงิน540 .- บาท

  • ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 3,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มิถุนายน 2565 ถึง 15 กันยายน 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้เข้าอบรม ร้อยละ 90                   มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคไข้เลือดออก                    ที่ถูกต้อง 2.ผู้เข้าร่วมอบรม ร้อยละ90              มีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก            ที่ถูกวิธีและเหมาะสม 3.เกิดพฤติกรรม            ในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และสามารถสร้างสภาพแวดล้อมภายในบริเวณโรงเรียนเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22740.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,740.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. นักเรียน ครู บุคลากร โรงเรียนบ้านลดา มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง
๒. นักเรียน ครู บุคลากร โรงเรียนบ้านลดา มีความรู้ ในการควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม
๓. นักเรียน ครู บุคลากรโรงเรียนบ้านลดา เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
และสามารถสร้างสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย


>