กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ"ส่งเสริมการป้องกันโรคในผู้สูงอายุ” ประจำปี ๒๕๖๖

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

ชมรมผู้สูงอายุตำบลบาราเฮาะ

นางหัสดินทร์และมะลี
นางรอมละอีแต
นายแวอูเซ็งฮะยีสามะ

องค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุส่วนหนึ่งมาจากการเจ็บป่วยสะสมตั้งแต่วัยหนุ่มสาวหรือวัยทำงาน แต่ไม่ได้รับการรักษาหรือการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดอาการรุนแรงในวัยสูงอายุ หลายโรคเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ทั้งการบริโภคอาหาร ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย และขาดการควบคุมอารมณ์ที่ดี
โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อาการสับสนและสูญเสียความทรงจำ ภาวะสมองเสื่อม อาการนอนไม่หลับ ภาวะซึมเศร้า ปัญหาการกลั้นการขับถ่ายไม่อยู่และปัญหาการได้ยิน จากสภาพปัญหาผู้สูงอายุดังกล่าว ชมรมผู้สูงอายุ จึงได้มีแนวคิดจัดทำ “โครงการส่งเสริมการป้องกันโรคในผู้สูงอายุ” เพื่อให้ผู้สูงอายุได้นำความรู้และเตรียมพร้อมรับมือกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น ซึ่งภาครัฐได้มีการกำหนด”ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมในสังคมผู้สูงอายุ”เพื่อเป็นการรองรับและเตรียมความพร้อมให้กับผู้สูงอายุ

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี

1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ
2. ผู้สูงอายุสามารถป้องกันการเกิดโรคต่างๆที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุได้
3. ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้
4. สนับสนุนกิจกรรมขององค์กรเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 26/07/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมป้องกันโรคในผู้สูงอายุ

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมป้องกันโรคในผู้สูงอายุ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม 60 คน252 มื้อ เป็นเงิน 3,000 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 60คนๆละ50บาท*1 มื้อเป็นเงิน 3,000 บาท
  3. ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาทเป็นเงิน3,600 บาท
  4. ค่าจ้างทำป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1*2 เมตร จำนวน 1 แผ่นเป็นเงิน 360 บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,960บาท(เก้าพันเก้าร้อยหกสิบบาทถ้วน)
ระยะเวลาดำเนินงาน
21 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.   ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพและป้องกันโรคต่างๆของตัวเองได้ 2.   ผู้สูงอายุมีความรู้และป้องกันโรคต่างๆจากที่ได้อบรมครั้งนี้ และประสบการณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ       ตนเอง ครอบครัว และชุมชน 3.   มีชมรมเครือข่ายผู้สูงอายุในพื้นที่แบบยั่งยืนและมีกิจกรรมต่อเนื่อง

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9960.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 9,960.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพและป้องกันโรคต่างๆของตัวเองได้
2. ผู้สูงอายุมีความรู้และป้องกันโรคต่างๆจากที่ได้อบรมครั้งนี้ และประสบการณ์ในการส่งเสริมสุขภาพ
ตนเอง ครอบครัว และชุมชน
3. มีชมรมเครือข่ายผู้สูงอายุในพื้นที่แบบยั่งยืนและมีกิจกรรมต่อเนื่อง


>