กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์หมู่บ้านร่วมใจสะอาด ปราศจากโรคภัย สุขใจถ้วนหน้า ตำบลบาราเฮาะ ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาราเฮาะ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาราเฮาะ

1.นางเจ๊ะอาซีซะห์เบ็ญฮาวัน
2.นางปราณีบุญศาท
3.นางซูปีดะห์แวซูกาเลาะ

ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 - ม.8 ตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความรู้เรื่องการควบคุมโรคไข้เลือดออก

 

400.00

บ้านหรือที่พักอาศัยถือเป็นปัจจัยขั้นพื้นฐานต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ เป็นสถานที่ที่ประชาชนใช้ ในการอยู่อาศัย และทำกิจกรรมต่างๆ ของบุคคลในครอบครัวเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตและสภาพของสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป การทำงานที่รีบเร่งแข่งกับเวลา ทำให้ประชาชนละเลยต่อสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัว และไม่มีการจัดการดูแลที่พักอาศัยที่เหมาะสม โดยเฉพาะในเรื่องของการสุขาภิบาลขั้นพื้นฐาน ในครัวเรือน เช่น ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย การปรุง – การประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะน้ำดื่ม น้ำใช้ที่สะอาดและเพียงพอ การจัดการมูลฝอย น้ำเสีย รวมทั้งสัตว์และแมลงพาหะนำโรค หรือละเลยการสร้างพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ดีของตนเองและสมาชิกในครอบครัว ก็อาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหารที่มีอาหารและน้ำเป็นสื่อ ไวรัสตับอักเสบ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น โรคต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการด้านการสุขาภิบาลที่พักอาศัย การสุขาภิบาลสิ่งแวดแวดล้อม และการปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลให้ถูกต้องและเหมาะสม
กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุขในฐานะหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการส่งเสริมสุขภาพและการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชน และเพื่อให้เกิดการปฏิบัติในระดับครัวเรือนอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น ชมรม อสม.ตำบลบาราเฮาะ จึงได้ตระหนักเห็นความสำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของจังหวัดปัตตานี และอำเภอตำบล จึงได้จัดทำโครงการชื่อว่า “โครงการรณรงค์หมู่บ้านร่วมใจสะอาด ปราศจากโรคภัย สุขใจถ้วนหน้า” ขึ้น..โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการสุขาภิบาลที่พักอาศัย การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมขั้นพื้นฐานในครัวเรือน ส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายในบ้านและบริเวณบ้านโดยรอบ ให้ถูกต้องและเหมาะสม ตามหลักสุขาภิบาล รวมทั้งสร้างพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ดี ตลอดจนการมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน นับเป็นการเสริมสร้างศักยภาพของประชาชนในทุกครัวเรือน ให้มีความใส่ใจต่อสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยเริ่มปลูกฝังตั้งแต่ระดับครัวเรือน และขยายผลสู่ชุมชนต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อรณรงค์ ส่งเสริมให้มีการพัฒนาและทำความสะอาดบ้านตามหลักสุขาภิบาล 2. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขอนามัยในครัวเรือนที่ถูกต้อง 3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน 4. เพื่อสร้างจิตสานึกและความตระหนักให้ประชาชนมีความใส่ใจต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี
  1. ร้อยละของครัวเรือนที่มีการพัฒนาและทำความสะอาดบ้านตามหลักสุขาภิบาล 2.ร้อยละของครัวเรือนมีพฤติกรรมสุขอนามัยในครัวเรือนที่ถูกต้อง 3.ร้อยละการมีส่วนร่วมพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน/ชุมชน
    4.ร้อยละของประชาชนมีความใส่ใจและตระหนักต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี
400.00 400.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 400
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 10/07/2023

กำหนดเสร็จ 20/09/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1.กิจกรรมให้วามรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคไวรัสซิก้าและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
1.กิจกรรมให้วามรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก/โรคไวรัสซิก้าและขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.1 วันที่ 10/7/2566 หมู่ 1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.2 วันที่ 11/7/2566 หมู่ 2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.3 วันที่ 12/7/2566 หมู่ 3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.4 วันที่ 13/7/2566 หมู่ 4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.5 วันที่ 14/7/2566 หมู่ 5 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท 1.6 วันที่ 17/7/2566 หมู่ 6 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.7 วันที่ 18/7/2566 หมู่ 7 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน 2,500บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

1.8 วันที่ 19/7/2566 หมู่ 8 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน ประกอบด้วย อสม, ผู้นำชุมชน, ผู้นำศาสนา, ตัวแทนชาวบ้านและเยาวชน, เจ้าหน้าที่ รพสต ตัวแทนองค์การบริหารส่วนตำบลบาราเฮาะ -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 50 บาทเป็นเงิน2,500 บาท -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน2,500 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 5,000 บาท

-ค่าป้ายไวนิล จำนวน 8 ผืน ขนาด 1x3 เมตร ราคาผืนละ 750 บาท เป็นเงิน6,000 บาท -จัดซื้อทรายอะเบท จำนวน 8 ลังๆละ 2,500 บาท เป็นเงิน20,000 บาท -จัดซื้อถุงดำ ขนาด 36x45จำนวน 10 แพ็คๆ ละ 75 บาทเป็นเงิน750 บาท
-ถุงมือยาง ขนาดไซด์ L จำนวน 10 กล่องๆ ละ150 บาทเป็นเงิน1,500 บาท
-ค่าจัดทำรูปเล่มโครงการ 2 เล่ม ราคาเล่มละ 300 บาทเป็นเงิน 600 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 กรกฎาคม 2566 ถึง 20 กันยายน 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เกิดสภาพแวดล้อมในบ้านและบริเวณโดยรอบ รวมถึงหมู่บ้าน/ชุมชน ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เกิดสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคล
  2. ป้องกัน และลดอัตราการเกิดโรคที่มีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และเกิดสัมพันธภาพหรือบรรยากาศที่ดีในครัวเรือน ช่วยให้ครอบครัวมีความอบอุ่น มีความรัก เอื้ออาทร ซึ่งกันและกัน
  3. คนได้รับการหล่อหลอมมาจากบ้านให้มีคุณภาพ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศเกิดชุมชนที่เข้มแข็ง มีความรักใคร่ สามัคคี และร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาสังคมให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ตลอดจนเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศเป็นเมืองสะอาด (Clean Cities)
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
68850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 68,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกิดสภาพแวดล้อมในบ้านและบริเวณโดยรอบ รวมถึงหมู่บ้าน/ชุมชน ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เกิดสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคล
2. ป้องกัน และลดอัตราการเกิดโรคที่มีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และเกิดสัมพันธภาพหรือบรรยากาศที่ดีในครัวเรือน ช่วยให้ครอบครัวมีความอบอุ่น มีความรัก เอื้ออาทร ซึ่งกันและกัน
3. คนได้รับการหล่อหลอมมาจากบ้านให้มีคุณภาพ ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศเกิดชุมชนที่เข้มแข็ง มีความรักใคร่ สามัคคี และร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาสังคมให้ดียิ่งขึ้นต่อไป ตลอดจนเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประเทศเป็นเมืองสะอาด (Clean Cities)


>