กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง

1. นายทวีปจิรรัตนโสภา ประธานกรรมการ
2. นางชุลีศรีพระจันทร์กรรมการ
3. นางเสาวลักษณ์ บุญกำเนิด กรรมการ
4. นางพิมพรรณ เต็งมีศรี กรรมการ
5. นางสิริเพ็ญ จันทร์แดง กรรมการ

ในเขตเทศบาลเมืองเบตง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม , แผนงานสุขภาพจิต

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ในปจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผูสูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในป 2563 มีประชากรที่มีอายุตั้งแต 60 ป 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กลาวตามนิยามของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปขึ้นไปเกินรอยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ปขึ้นไป เกินรอยละ 7 ของประชากรทั้งหมด ถือได้วาประเทศนั้นไดกาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเขาสูสังคม ผูสูงอายุตั้งแตป 2547 และจะเปนสังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณในป 2567
เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรเขาสูสังคมผูสูงอายุ มีผลกระทบตออัตราสวนภาวะพึ่งพิง หรือภาวะโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะตองเลี้ยงประชากรวัยสูงอายุที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสูปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปญหาในดานสุขภาพของผูสูงอายุดวย เนื่องจากผูสูงอายุมีภาวะดานสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงมีความเสื่อมของรางกายอวัยวะตางๆ ทั่วไปเริ่มออนแอและเกิดโรคงาย ภูมิตานทานโรคนอยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางดานจิตใจและสังคมดวยสถานการณ์ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2566 พบว่า ผู้สูงอายุในพื้นที่มีคุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกันในแต่ละคน มีทั้งผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน และติดสังคม จากการสำรวจพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงรวมทั้งสิ้นประมาณ 4,959 คน คิดเป็นร้อยละ 19 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลเมืองเบตง ซึ่งถือเป็นจำนวนที่ค่อนข้างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนในพื้นที่ต้องร่วมมือร่วมใจ ผสานทุนทางสังคม มีนโยบายและกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากที่สุด มีกิจกรรมทางสังคมที่หลากหลาย เพียงพอ เหมาะสมกับความสนใจและวัฒนธรรม สามารถชวยเหลือตนเองไดทั้งทางดานสุขภาพทางกาย และจิตใจ ผูสูงอายุกลุมดังกลาวควรไดรับการสงเสริมใหเกิดความแข็งแรงทั้งกายและใจ การปฏิบัติตนที่ถูกต้องและเหมาะสมตามหลักการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุตามหลัก 5 อ. ได้แก่
1 อ.อาหาร รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
2 อ.ออกกำลังกาย โดยออกกำลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี เช่น ยืดเส้นยืดสาย ยืดเหยียด ช่วยให้กล้ามเนื้อแข็งแรง เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ เป็นต้น และหลีกเลี่ยง การแข่งขัน ออกแรงเกินกำลัง ความเร็วสูง เกร็ง เบ่ง ยกน้ำหนัก การอยู่ในสถานที่ร้อนอบอ้าว อากาศไม่ถ่ายเท อยู่กลางแดดจ้า
3 อ.อารมณ์ คือ อารมณ์รื่นเริงยินดี ชีวีสดใสด้วยรอยยิ้ม จิตแจ่มใส มองโลกในแง่บวก ไม่เครียด ช่วยเหลือให้คำแนะนำแก่ลูกหลาน คนรอบข้าง
4 อ.อดิเรก สร้างสรรค์งานอดิเรก เพิ่มพูนคุณค่า เกื้อกูลสังคม หากิจกรรมงานอดิเรกที่ชอบทำแล้วเพลิดเพลิน และมีคุณค่าทางจิตใจ เช่น อ่านหนังสือธรรมะ ฟังเทศน์ฟังธรรม พบปะสังสรรค์ ให้คำปรึกษาแนะนำฟังเพลง ปลูกต้นไม้ และ
5 อ.อนามัย สร้างอนามัยดี ชีวีมีสุข นำพาอายุยืนยาว สร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดี หมั่นตรวจและรักษาสุขภาพ ปฏิบัติตนให้ถูกสุขลักษณะ ควรตรวจสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้ง ดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน งด ละ เลิกอบายมุข บุหรี่ เหล้า ของมึนเมา และสารเสพติด
นอกจากนี้ การที่ผู้สูงอายุจะมีสุขภาพแข็งแรง มีอายุยืนยาวอย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้นั้น ไม่เพียงแต่การเตรียมความพร้อมหรือการปฏิบัติตัวผู้สูงอายุเองเท่านั้น ลูกหลาน ครอบครัวก็ควรใส่ใจดูแลผู้สูงอายุด้วย รวมทั้งสังคมก็ควรเกื้อหนุนอำนวยความสะดวกในสิ่งต่างๆ ตลอดจนจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้สูงอายุด้วยเช่นกันศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลัก 5 อ. นำชีวีมีความสุข จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และจิตใจ จึงมีความสำคัญอยางยิ่งในการสงเสริมและปองกันปญหาสุขภาพของผูสูงอายุแบบองครวม (Holistic)ใหมีสมรรถภาพรางกายแข็งแรง มีจิตใจเขมแข็ง และมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อใหผูสูงอายุสามารถดำเนินชีวิตอยางมีความสุขและตระหนักถึงคุณคาในตนเอง พรอมเปนพลังใหแกชุมชนตอไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง

 

0.00
2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่เข้ารับการอบรมมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม

 

0.00
3 3. เพื่อสร้างนวัตกรรมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่1 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่1 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าวิทยากร
    600 บาท x 2 ชั่วโมง x 20 ครั้ง                      เป็นเงิน  24,000  บาท
  2. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 2.00 x 3.00 เมตร                          เป็นเงิน  1,500  บาท
  3. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดทำโครงการ กระดาษA4  1 รีม = 180 บาท  / สมุดโน้ต 60 เล่ม = 600 บาท      เป็นเงิน  1,380  บาท ปากกาลูกลื่น 100 ด้าม = 600 บาท
  4. ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการ ค่าจัดทำรูปเล่มรายงานผลโครงการ                  เป็นเงิน  1,000   บาท
  5. ค่าอาหารกลางวัน
    75 บาท x 60 คน x 1 มื้อ x 20 ครั้ง                  เป็นเงิน  90,000  บาท
  6. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 60 คน x 2 มื้อ x 20 ครั้ง                  เป็นเงิน  84,000  บาท
  7. ค่าวัสดุอุปกรณ์กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (รายละเอียดตามเอกสารแนบท้าย)        เป็นเงิน  14,000  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการอาหารเป็นยาเพื่อผู้สูงอายุ เรื่องการทำแกงเลียงสมุนไพร    เป็นเงิน    1,500  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการอาหารเป็นยาเพื่อผู้สูงอายุ เรื่องการทำขนมกล้วยนึ่ง    เป็นเงิน    1,500  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการอาหารเป็นยาเพื่อผู้สูงอายุ เรื่องการทำน้ำพริกสมุนไพร  เป็นเงิน    1,500  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาการอาหารเป็นยาเพื่อผู้สูงอายุ เรื่องการทำน้ำสลัดผัก  เป็นเงิน  1,500   บาท อบรมเชิงปฏิบัติการการทำหมอนสุขภาพด้วยหลอดพลาสติก ครั้งที่ 1        เป็นเงิน    2,000  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการการทำหมอนสุขภาพด้วยหลอดพลาสติก ครั้งที่ 2        เป็นเงิน    2,000  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการการทำสิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า 1                  เป็นเงิน    2,000  บาท อบรมเชิงปฏิบัติการการทำสิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า 2                  เป็นเงิน    2,000  บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ผู้สูงอายุมีความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (ปัญญา) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง
  2. ผู้สูงอายุมีสัมพันธภาพระหว่างเพื่อนวัยเดียวกัน มีสุขภาพจิตที่ดี มีความสุขในการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคม
  3. โรงเรียนผู้สูงอายุมีนวัตกรรมด้านสุขภาพ และผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
215880.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 215,880.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>