กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

ชมรม อสม.เขตโรงพยาบาลกะพ้อ

ตำบลกะรุบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากสภาพวะสุขภาพของประชาชนอำเภอกะพ้อมีแน้วโน้มเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อหรือเรื้อรังสูงขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงซึ้งเป็นโรคเรื้อรังที่มีความสำคัญเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง การขาดการออกกำลังกายและปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ และภาวะไตวายเรื้อรังมากขึ้น ซึ่งมีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานของภาคีเครือข่ายในการจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในกลุ่ม ในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน จึงมีความจำเป็นที่ต้องดำเนินการอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาจากการเจ็บป่วยโรคดังกล่าว เนื่องจากประชาชนในพื้นที่มีเชื่อเรื่องการเจ็บป่วยเป็นบททดสอบที่พระเจ้าให้มา ความตระหนักรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องไกลตัว และมีพฤติกรรมบริโภคอาหารแบบแกงกะทิ อาหารรสมัน หวาน และเค็มจัด ประกอบกับกระแสนิยมที่เน้นความสะดวกสบาย ทำให้แม่บ้านปัจจุบัน รับประทานอาหารสำเร็จรูปจากร้านค้า ตลาดนัด ซึ่งจากการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนในอำเภอกะพ้อส่วนใหญ่อยู่ในระดับไม่ดี คิดเป็นร้อยละ 57.30 อยู่ในระดับพอใจ ร้อยละ 41.58 และอยู่ในระดับดีมากแค่เพียง ร้อยละ 1.12
ด้วยเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีความเข้มแข็งและมีความร่วมมือในการดำเนินงานทุกภาคส่วน เช่นส่วนราชการ ไม่ว่าจะเป็นครู ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา ซึ่งเป็นต้นแบบในการดูแลสุขภาพที่ดี จึงเล็งเห็นการจัดโครงการครั้งนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชนในระยะยาวต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เป็นหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที

มีหมู่บ้านต้นแบบที่ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 2 หมู่บ้าน

1.00 2.00
2 เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบ มีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 วันๆ อย่างน้อยวันละ 30 นาที

ประชาชนในหมู่บ้านต้นแบบมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ สัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50

1.00 2.00
3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกาย

ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายร้อยละ 50

1.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 65
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2024

กำหนดเสร็จ 29/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคความดัน โลหิตสูงและเบาหวาน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยงโรคความดัน โลหิตสูงและเบาหวาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อย...ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ (ม.2,7) ตำบลกะรุบี

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย...ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ (ม.2,7) ตำบลกะรุบี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมง = 3,600 บาท
  2. ค่าไม้พองอันละ 50บาท * 65 อัน = 3,250 บาท
  3. ค่าไวนิลโครงการ = 700 บาท
  4. ค่าไวนิลออกกำลังกาย = 700 บาท
  5. ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท65คน1 มื้อ *1 วัน = 3,250 บาท
  6. ค่าอาหารว่าง 25 บาท *65 คน *2 มื้อ * 1 วัน = 3,250 บาท รวม 14,750 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14750.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมย่อย...ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน โดยการรำไม้พอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีอสม.เป็นแกนนำ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย...ส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน โดยการรำไม้พอง สัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีอสม.เป็นแกนนำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,750.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>