กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการหนูน้อยอิ่มและปลอดภัยจากการปนเปื้อนในอาหาร ของศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา อบต.คูหา

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยอิ่มและปลอดภัยจากการปนเปื้อนในอาหาร ของศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา อบต.คูหา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คูหา

องค์การบริหารส่วนตำบลคูหา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

1. นางสาวดาวีน่า หมะเส็น
2. นางสาวจีรนันท์ สุคลแก้ว

ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์วัดคูหา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารเคมีปนเปื้อนทั้ง 6 ชนิด ตกค้างในอาหาร

 

50.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์วัดคูหาปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร

ร้อยละ 90 ของเด็กได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร

90.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 73
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 31/10/2019

กำหนดเสร็จ 31/10/2020

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 การตรวจวิเคราะห์สารเคมีปนเปื้อนในอาหารกลางวัน

ชื่อกิจกรรม
การตรวจวิเคราะห์สารเคมีปนเปื้อนในอาหารกลางวัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อุปกรณ์และสารเคมี 1. ชุดทดสอบอาหารปลอดภัย 6 อย่าง ราคารวมประมาณ 12,000 บาท ประกอบด้วย
1.1 ชุดทดสอบสารฟอร์มาลีน 30 test ราคา 1,200 บาท 1.2 ชุดทดสอบสารบอแรกซ์50 test ราคา 300 บาท 1.3 ชุดทดสอบสารฟอกขาว 100 test ราคา 300 บาท 1.4 ชุดทดสอบสารกันรา 50 test ราคา 400 บาท 1.5 ชุดทดสอบหาค่าโพล่าร์ 25 test ราค่า 1,500 บาท 1.6 ชุดทดสอบย่าฆ่าแมลง 300 test ราคา 8,300 บาท 2. เครื่องแก้วและอุปกรณ์ ราคารวมประมาณ 8,000 บาท 2.1 บีกเกอร์ขนาด 50 mlจำนวน 10 ใบ ราคา 100 x 10 = 1000 บาท 2.2 บีกเกอร์ขนาด 100 ml จำนวน 10 ใบ ราคา 120 x 10 = 1200 บาท 2.3 บีกเกอร์ขนาด 250 ml จำนวน 10 ใบ ราคา 160 x 10 = 1600 บาท 2.4 ที่วางหลอดทดลอง (เหล็ก) จำนวน 1 ใบ ราคา 350 บาท 2.5 หลอดทดลอง จำนวน 20 หลอด ราคา 20 x 20 = 400 บาท 2.6 ขวดน้ำกลั่น จำนวน 1 ขวด ราคา 50 บาท 2.7 หลอดหยด เซต 30 ชิ้น ราคา 300 บาท 2.8 แท่งแก้วคน จำนวน 10 ชิ้น ราคา 150 x 10 = 1500 บาท 2.9 กระบอกตวง ขนาด 25 ml จำนวน 1 ชิ้น ราคา 300 บาท 2.10 ปิเปต ขนาด 5 ml จำนวน 2 อัน ราคา 200 x 2 = 400 บาท 2.11 ปิเปต ขนาด 10 ml จำนวน 2 อัน ราคา 300 x 2 = 600 บาท 2.12 จุกยาง 3 ทาง จำนวน 1 ชิ้น ราคา 150 บาท 2.13 ถุงมือยาง Size M 1 กล่อง ราคา 150 บาท ขั้นตอนการทดสอบ 1. เก็บตัวอย่างอาหารที่ใช้ในการปรุงประกอบอาหาร 2. นำตัวอย่างที่ไม่ผ่านการแช่น้ำหรือล้างทำความสะอาดมาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ 3. นำตัวอย่างใส่ในแก้วพลาสติกพร้อมเติมน้ำเปล่าลงไปให้ท่วมตัวอย่าง แล้วแช่ทิ้งไว้เป็นเวลาอย่างน้อย 30 นาที 4. นำน้ำตัวอย่างที่ได้มาเทใส่ลงในถ้วยพลาสติกของชุดทดสอบ พร้อมเติมสารเคมีที่ใช้ในการทดสอบ 5. สังเกตผลการทดสอบทั้งทางภายภาพและทางเคมี พร้อมบันทึกผล 6. หากพบว่ามีสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ก็จะเปลี่ยนแหล่งที่รับซื้อวัตถุดิบในการปรุงประกอบอาหารต่อไป

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กได้รับประทานอาหารกลางวันที่ปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร คิดเป็นร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

ร้อยละ 100 ของเด็กได้รับประทานอาหารกลางวันที่ปลอดสารปนเปื้อน


>