กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เขต 12 จังหวัดปัตตานี อำเภอยะหริ่ง

เกณฑ์การประเมินคะแนนเต็มคะแนนที่ได้

หมวดที่ 1 : การบริหารจัดการงานกองทุนฯ I : Input

30
1.1 มีการจัดทำและอนุมัติแผนการเงินประจำปี/โครงการ/กิจกรรม ภายใน 31 ธันวาคม ตามวงเงินประมาณการรายรับและหรือเงินคงเหลือ โดยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ 8
แหล่งข้อมูล 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) แผน/โครงการ/กิจกรรม
(2)
(2)
(2)
(2)
1.2 มีการเห็นชอบรายงานการเงิน และบันทึกรายงานผ่านโปรแกรมกองทุนตำบล ทุกไตรมาส 6
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม คณะกรรมการกองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(1)
(1)
(2)
(2)
1.3 เอกสาร/หลักฐานการเบิกจ่ายจ่ายเงิน ครบถ้วน ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 8
1.3.1 โดยการสุ่มตรวจเอกสาร 6
เป้าหมาย/แนวทางประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน: สุ่มตรวจเอกสารโครงการ จำนวน 3 โครงการซึ่งประกอบด้วย 1) โครงการ 2) รายงานการประชุมที่ กก.อนุมัติ 3) บันทึกข้อตกลง 4) ฎีกาเบิกจ่าย 5) ใบสำคัญรับเงิน/ใบเสร็จรับเงิน
แหล่งข้อมูล: แฟ้มเอกสารการเงิน
(6)
(3)
(0)
1.3.2 กองทุนมีเอกสารเบิกจ่ายการเงินในหมวดบริหารจัดการกองทุนฯ 10(4) ครบถ้วนถูกต้อง 2
เป้าหมาย/แนวทางประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน: ตรวจสอบฎีกาทุกฎีกา หมวด 10(4)
แหล่งข้อมูล: แฟ้มเอกสารการเงิน
(2)
(0)
1.4 การบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม 8
1.4.1 การได้มาซึ่งการคัดเลือกกรรมการและปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ตามประกาศ พ.ศ. 2561 4 คะแนน 4
แหล่งข้อมูล: พิจารณาองค์ประกอบตามประกาศ พ.ศ. 2561 ข้อ 12
(4)
(0)
1.4.2 มีการพัฒนาศักยภาพ/องค์ความรู้ คณะกรรมการกองทุนฯ/อนุกรรมการ/คณะทำงาน (ใช้งบบริหารจัดการ 10 (4) 2
แหล่งข้อมูล: แผนการใช้เงินตามหมวด ข้อ 10(4)
(2)
(0)
1.4.3 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์เชิงรุก เผยแพร่ผลงาน การทำงานกองทุนฯ (1) มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (2) เผยแพร่ผลงาน/งานวิชาการ 2
เป้าหมาย/แนวทางประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน: มีการประชาสัมพันธ์อย่างหลากหลาย (อย่างน้อย 3 ช่องทาง)
แหล่งข้อมูล: จากป้ายประชาสัมพันธ์/วิทยุท้องถิ่น/หอกระจายข่าว/สื่อท้องถิ่น/สื่อออนไลน์ช่องทางต่าง ๆ
(1)
(1)
เกณฑ์การประเมินคะแนนเต็มคะแนนที่ได้

หมวดที่ 2 : การบริหารเงินกองทุนฯ A : Action

20
2.1 มีการเบิกจ่ายเงินกองทุนให้หน่วยงานที่ขอรับงบประมาณเป็นไปตามแผนงานโครงการที่ได้รับอนุมัติ (สอดคล้องตามประกาศฯ) 4
แหล่งข้อมูล: ข้อมูล เว็บไซต์ 1) รายงาน 2) โปรแกรม
(4)
(3)
(2)
(1)
(0)
2.2 อัตราการการเบิกเงินกองทุนในปีงบประมาณ (รวมเงินคงเหลือ) ณ สิ้นไตรมาส 4 6
แหล่งข้อมูล: ข้อมูล เว็บไซต์ 1) รายงาน 2) โปรแกรม
(2)
(2)
(2)
2.3 มีการสมทบเงินของ อปท. 6
แหล่งข้อมูล: ข้อมูล เว็บไซต์ 1) รายงาน 2) โปรแกรม
(6)
(4)
(3)
(1)
2.4 มีระบบบัญชีของกองทุน (ตามที่สำนักงานกำหนด) 4
แหล่งข้อมูล: ข้อมูล เว็บไซต์ 1) รายงาน 2) โปรแกรม
(4)
(2)
(0)
เกณฑ์การประเมินคะแนนเต็มคะแนนที่ได้

3. การสนับสนุนโครงการ O : Output

25
3.1 มีการจัดทำแผนงาน/โครงการอย่างมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ 12
3.1.1 มีการจัดทำแผนงาน/โครงการอย่างมีส่วนร่วม 8 กลุ่ม 6
เป้าหมาย/แนวทางประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน: ได้แก่ 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 2) กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 3) กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 4) กลุ่มวัยทำงาน 5) กลุ่มผู้สูงอายุ 6) กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7) กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 8) กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(6)
(4)
(2)
(1)
(0)
3.1.2 โครงการในแผนงาน ได้รับอนุมัติและจ่ายเงินให้ดำเนินการครบทุกโครงการ 6
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(6)
(4)
(2)
(1)
(0)
3.2 มีการสรุปผลงานโครงการ พร้อมรายงานผลในที่ประชุม กก.กองทุนฯ ภายในสิ้นปีงบประมาณ (สิ่งส่งมอบ) 13
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(13)
(10)
(7)
(5)
(3)
(0)
เกณฑ์การประเมินคะแนนเต็มคะแนนที่ได้

4. การได้รับประโยชน์เชิงรูปธรรม (ทางสุขภาพ) V : Value

25
4.1 มีผลงานที่แสดงให้เห็นถึงความครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการสาธารณสุข 8 กลุ่มตามโปรแกรม 10
เป้าหมาย/แนวทางประเมิน/เกณฑ์การให้คะแนน: 1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 2) กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 3) กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 4) กลุ่มวัยทำงาน 5) กลุ่มผู้สูงอายุ 6) กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7) กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 8) กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(10)
(7)
(5)
(0)
4.2 มีผลงานเด่น/นวัตกรรมที่แก้ไขปัญหาสุขภาพพื้นที่ของกลุ่มเป้าหมาย (เน้นผลงานที่ครอบคลุม) 15
แหล่งข้อมูล: 1) จากรายงานการประชุม กก.กองทุน 2) รายงาน 3) โปรแกรม
(15)
(13)
(10)
(7)
(5)
รวมคะแนน 100 72
Grade A+ 90-100 คะแนน = กองทุนที่มีศักยภาพสูง สามารถเป็นศูนย์เรียนรู้
Grade A 70-89 คะแนน = กองทุนที่มีศักยภาพดี
Grade B 50-69 คะแนน = กองทุนที่มีศักยภาพปานกลาง
Grade C 0-49 คะแนน = กองทุนที่ยังขาดความพร้อมต้องเร่งพัฒนา