กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

account_balance

แผนการดำเนินงานประจำปี 2562 - กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน

แผนการดำเนินงาน กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน
ประจำปีงบประมาณ 2562

stars
บริบทพื้นที่/สถานการณ์ชุมชน

๑. สภาพทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน 1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้าน ที่ตั้งของหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านพร่อน หมู่ที่ 2 บ้านดูซง หมู่ที่ 3 บ้านตาสา หมู่ที่ 4 บ้านท่าวัง หมู่ที่ 5 บ้านควน หมู่ที่ 6 บ้านจาหนัน องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ตั้งอยู่ หมู่ที่ 4 ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเมืองยะลา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบ มีเนินภูเขาเตี้ยๆ เหมาะกับการทำเกษตรกรรม จากการที่เป็นภูเขาและมีป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ทำให้มีสัตว์ป่าหลายชนิด เช่น กวาง หมี เม่น กระจง ฯลฯ (ในอดีต) เว้นกระจง ประมาณ ๖ กิโลเมตร
คำว่า “พร่อน” ซึ่งใช้เป็นชื่อตำบลนั้น ได้มีเรื่องเล่าสืบมาจากผู้อาวุโสในหมู่บ้านของตำบลในอดีตที่ผ่านมา มีนายพรานคนหนึ่งเป็นผู้ที่มีความสามารถในการล่าสัตว์ป่า ชาวบ้านเรียกว่า “โต๊แพร” หรือ “โต๊ะพราน” และอาณาบริเวณที่พรานอยู่นั้น ตั้งชื่อว่า “หมู่บ้านพราน” ต่อมาได้เพี้ยนเป็น “พร่อน” ปัจจุบันคือ หมู่ที่ 1 บ้านพร่อน ซึ่งเมื่อทราบว่าทางราชการได้แบ่งการปกครองเป็นตำบล จึงได้ใช้ชื่อหมู่บ้านพร่อนเป็นชื่อตำบลพร่อนจนถึงปัจจุบัน โดยตำบลพร่อน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภอเมืองยะลา มีพื้นที่ประมาณ 12,439 ไร่ ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองยะลา ประมาณ 7 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อดังนี้

แผนที่ตำบลพร่อน   ทิศเหนือ
ติดต่อกับ ตำบลลำใหม่ ตำบล ยุโป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลหน้าถ้ำ ตำบลลิดล อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

  1.2 ลักษณะภูมิประเทศ   ตำบลพร่อน มีสภาพเป็นภูเขาสลับกันค่อยๆลาดต่ำลงเป็นที่ราบจนกระทั่งเป็นที่ราบลุ่มบางส่วน ได้แก่ หมู่ที่ 4, 5 และ 6 เป็นที่ราบได้แก่ หมู่ที่ 1, 2 และ 3 และเป็นที่ลุ่มน้ำท่วมขังปี คือ หมู่ที่ 5 และ 6 1.3 ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศโดยทั่วไปของตำบลพร่อนเป็นอากาศร้อนชื้น ประกอบด้วย 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและฤดูร้อน   1.4 ลักษณะของดิน ลักษณะสภาพดินส่วนใหญ่ของตำบลพร่อนเป็นดินร่วนปนทราย และลูกรัง 1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ แหล่งน้ำในตำบลพร่อน ประกอบด้วย 1. ฝาย ประกอบด้วย จำนวน 4 ฝาย ประกอบด้วย ฝายบ้านตาสา ฝายบ้านท่าวัง ฝายบ้านควน ฝายบ้านพร่อน
2. บึงธรรมชาติ ประกอบด้วย บึงธรรมชาติยือมูแว ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บึงธรรมชาติเกาะลอยบ้านจาหนัน (ปูลาตีโม) หมู่ที่ 6 บึงธรรมชาติบะห์ลู หมู่ที่ 6 3. แก้มลิงบ้านจาหนัน ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 1.6 ลักษณะของไม้และป่าไม้ ตำบลพร่อน มีพื้นที่ป่าไม้ทั้งหมด จำนวน 11,108 ไร่ โดยส่วนใหญ่เป็นป่าสวนยางและสวนผลไม้

  1. ด้านการเมือง/การปกครอง 2.1 เขตการปกครอง สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2538 และต่อมาในปี พ.ศ. 2540 ได้ยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 แบ่งการปกครองออกเป็นจำนวน 6 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ ๑ บ้านพร่อน นายสะอารี สะแต กำนันตำบลพร่อน หมู่ที่ ๒ บ้านดูซง นายอับดุซอมะ เมาะสาแม ผู้ใหญ่บ้าน
    หมู่ที่ 3 บ้านตาสา นายมะพาลี กาหลง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านท่าวัง นายมูฮัมมัดบูคอรี อาแซ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านควน นายผัดลูซูไฮมี  ตาเยะ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านจาหนัน นายดือราแม  ลาเต๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน

    2.2 การเลือกตั้ง องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน แบ่งเขตการเลือกตั้งเป็นจำนวน 1 เขต และมีจำนวนหน่วยเลือกตั้ง 6 หน่วย คือ หน่วยเลือกตั้งที่ 1 ได้แก่ หมู่ที่ 1 , หน่วยเลือกตั้งที่ 2 ได้แก่ หมู่ที่ 2 , หน่วยเลือกตั้งที่ 3 ได้แก่ หมู่ที่ 3, หน่วยเลือกตั้งที่ 4 ได้แก่ หมู่ที่ 4 ,หน่วยเลือกตั้งที่ 5 ได้แก่ หมู่ที่ 5 ,หน่วยเลือกตั้งที่ 6 ได้แก่ หมู่ที่ 6


  2. ประชากร 3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับประชากร ประชากรในตำบลพร่อนมีจำนวนทั้งสิ้น 5,379 คน แยกเป็นชายจำนวน 2,672 คน      หญิง 2,707 คน จำนวนครัวเรือนทั้งสิ้น 1,198 ครัวเรือน แยกเป็น

หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน ชาย
(คน) หญิง
(คน) รวม
(คน) ครัวเรือน
(หลังคนเรือน) 1  บ้านพร่อน 204 221 425 110 2  บ้านดูซง 481 493 974 243 3  บ้านตาสา 575 516 1,091 279 4  บ้านท่าวัง 257 273 530 120 5  บ้านควน 401 453 854 175 6  บ้านจาหนัน 754 751 1,505 271 รวมทั้งสิ้น 2,672 2,707 5,379 1,198

                      (ข้อมูล ณ เดือน 3 ตุลาคม 2559)




3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร กลุ่มอายุ จำนวนประชากร ชาย หญิง รวม น้อยกว่า 1 ปี 30 28 58 1 – 5 ปี 183 151 334 6 – 10 ปี 213 203 416 11 – 15 ปี 205 185 390 16 – 20 ปี 222 207 429 21 – 25 ปี 184 192 376 26 – 30 ปี 158 173 331 31 – 35 ปี 122 154 276 36 – 40 ปี 134 137 271 41 – 45 ปี 147 154 301 46 – 50 ปี 157 129 283 51 – 55 ปี 99 111 210 56 – 60 ปี 81 82 163 61 – 65 ปี 75 89 164 66 – 70 ปี 58 63 121 71 – 75 ปี 38 48 86 76 – 80 ปี 30 32 62 81 – 85 ปี 14 25 39 86 – 90 ปี 5 8 13 91 – 95 ปี 2 2 4 96 – 100 ปี - 1 1 101 ปี ขึ้นไป - - - 4. สภาพทางสังคม 4.1 การศึกษา - โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 1 แห่ง คือ โรงเรียนมุสลิมศึกษา ตั้งอยู่หมู่ ที่ 4 บ้านท่าวัง - โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง คือ โรงเรียนบ้านพร่อน ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2, โรงเรียนบ้านตาสา ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 3 และโรงเรียนบ้านจาหนัน ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 6
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจำนวน 2 ศูนย์ คือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านตาสา ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 3 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านจาหนัน ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 6 - โรงเรียนพิกุลศาสตร์วิทยาอนุบาล บ้านดูซง ม. 2, สถาบันศึกษาปอเนาะทัศนศาสน์วิทยา ม.6,สถาบันศึกษาปอเนาะอิสลามศาสน์ ม.3, สถาบันศึกษาปอเนาะดารุลกุรอ่านนุลการีม ม.3

  • ศูนย์ประสานงานสภาองค์กรชุมชนตำบพร่อน ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 บ้านพร่อน
  • มัสยิดประจำหมู่บ้าน จำนวน 7 แห่ง
  • โรงเรียนตาดีกา จำนวน 7 แห่ง 4.2 สาธารณสุข ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพร่อน จำนวน 1 แห่ง มีบุคลากรที่เป็นข้าราชการ จำนวน 7 คน และลูกจ้างที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานบริการ จำนวน 4 คน อาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 70 คน โดยลงพื้นที่ให้บริการประชาชนอย่างต่อเนื่อง ทั่วถึง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพร่อน ทั้ง 6 หมู่บ้าน 4.3 อาชญากรรม ตำบลพร่อนอยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจลำใหม่ ประกอบกับแต่ละหมู่บ้าน      มีอาสาสมัครตำรวจบ้าน ชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกำลังสำคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสารให้กับทางราชการทราบอยู่ตลอดเวลาทำให้ปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่อยู่ในระดับน้อย
    4.4 ยาเสพติด ตำบลพร่อนประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำสวนยาง สวนผลไม้ให้มีปัญหายาเสพติดแพร่ระบาดเข้ามาในพื้นที่พอสมควร แต่เนื่องจากพื้นที่อยู่ในความรับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรลำใหม่คอยสอดส่องดูแลและหาเบาะแสผู้กระทำผิดอยู่เป็นประจำ ประกอบกับแต่ละชุมชนมีอาสาสมัครตำรวจบ้าน ชุดรักษาความสงบหมู่บ้าน คอยเป็นกำลังสำคัญในการแจ้งเบาะแสและข้อมูลข่าวสารให้กับทางราชการทำให้ปัญหายาเสพติดเบาบางลงตามลำดับ 4.5 การสังคมสงเคราะห์ องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ได้ดำเนินการด้านสังคมสงเคราะห์ ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ประสานการรับ บัตรผู้พิการ เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้พิการและผู้ปกครอง
  1. ระบบบริการพื้นฐาน 5.1 การคมนาคมขนส่ง ตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีเส้นทางการคมนาคมสะดวกทั้ง 6 หมู่บ้านมีถนนสายหลัก ดังนี้ 1.ถนนทางหลวงชนบท ยล 3003 สายท่าสาป-ลำใหม่ ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 5, 4, 3, 1 เป็นเส้นทางลัดเข้าตัวเมืองยะลา

    1. ถนนทางหลวงชนบท ยล 4001 สายท่าสาป – คลองทราย ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 5, 6
    2. ถนนทางหลวงชนบท ยล 2011 เป็นถนนลาดยาง ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 1 บ้านพร่อน
    3. ถนนทางหลวงชนบท ยล 2051 เป็นถนนลาดยาง ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 3 ตำบลพร่อน และ  หมู่ที่ 2 ตำบลลิดล
    4. ถนนทางหลวงชนบท ยล 2012 เป็นถนนลาดยาง ผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 3 และ 2 ตำบลพร่อน

    5.2 การไฟฟ้า มีระบบไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้าน มีหน่วยบริการผู้ใช้ไฟฟ้า สังกัดการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดยะลา จำนวน 1 แห่ง ตั้งอยู่ที่ 556 ถนนสาย 15 ตำบลสะเตง อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 95000 5.3 การประปา การประปาในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีการให้บริการจำหน่ายน้ำประปาหมู่บ้านให้กับประชาชนหมู่ที่ 1 – หมู่ที่ 5 ในส่วนของการประปาหมู่ที่ 6 นั้น เกิดการชำรุด 5.4 โทรศัพท์ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน มีการสื่อสารที่สำคัญ ได้แก่ ทางโทรศัพท์บ้านและโทรศัพท์เคลื่อนที่ และมีเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ AIS, DTAC, TRUE

  2. ระบบเศรษฐกิจ 6.1 การเกษตร ตำบลพร่อน มีพื้นที่กว้างและอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร คือ การทำนาปีและ นาปรัง นอกจากนี้ยังประกอบอาชีพการทำสวนผลไม้ เช่น สวนเงาะ ทุเรียน มังคุด ลองกอง ลางสาด สวนยางพารา ดูได้จากตารางแสดงการใช้ประโยชน์จากที่ดินเพื่อการเกษตร ดังนี้





    หมู่ที่


ชื่อหมู่บ้าน

เนื้อที่ถือครองการเกษตรทั้งหมด (ไร่)  (1)
เนื้อที่ทำการเกษตรจริง (ไร่)

เนื้อที่ถือครองไม่ได้ใช้ประโยชน์(1)-(รวม1+รวม2)
เนื้อที่ทำการปลูกพืช

รวม 1
เนื้อที่ทำการ เกษตรอื่นๆ

รวม 2

ข้าว
ยางพารา
ไม้ผล
ไม้ยืนต้น
พืชผัก
พืชไร่
ประมง
ปศุสัตว์
1 พร่อน 1,371 500 528 31 14 5 2 1,080 20 30 50 241 2 ดูซง 1,839 800 408 109 19 5 2 1,343 25 50 75 421 3 ตาสา 2,079 920 795 71 79 6 3 1,874 21 30 51 154 4 ท่าวัง 2,008 200 742 39 21 6 2 1,010 30 30 60 938 5 ควน 2,372 410 856 36 29 7 2 1,349 30 20 50 973 6 จาหนัน 1,439 0 937 81 33 3 2 1,056 30 30 60 323 รวม 11,108 2,830 4,275 367 195 32 13 7,712 156 190 346 3,050

6.5 การท่องเที่ยว ในตำบลพร่อนมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญในพื้นที่ ประกอบด้วย 1. บึงธรรมชาติบึงยือมูแว บ้านควน หมู่ที่ 5 ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 2. บึงธรรมชาติบะห์ลู บ้านควน หมู่ที่ 5 ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 3. บึงเกาะลอย (ปูลาตีโม) แก้มลิงบ้านจาหนัน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา 6.6 อุตสาหกรรม ปัจจุบันในพื้นที่ตำบลพร่อน มีโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงไฟฟ้าชีวมวล โรงงานแปรรูปไม้ยางพารา โรงงานรับซื้อน้ำยางพารา โรงงานยะลาคอนกรีต ทำให้ประชาชนในพื้นที่มีอาชีพ เพิ่มรายได้ 6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ การพาณิชย์ - ตลาดนัด จำนวน 1 แห่ง (อยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 2 ) กลุ่มอาชีพ - กลุ่มนูรุลอามาน (ทำขนม) หมู่ที่ 1 - กลุ่มเย็บผ้า หมู่ที่ 2 - กลุ่มอาหาร,ขนม หมู่ที่ 3,4 - กลุ่มนาปรัง หมู่ที่ 5 - กลุ่มตัดเย็บผ้า, กลุ่มผู้สูงอายุ หมู่ที่ 6 6.8 แรงงาน เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ในตำบลพร่อน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมทำนา สวนผลไม้  สวนยางพารา แรงงานจะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ แรงงานวัยทำงานในพื้นที่ และแรงงานต่างด้าว ส่วนเยาวชนวัยทำงานในตำบลพร่อนเมื่อเรียนจบจะออกไปทำงานนอกพื้นที่ ทำให้แรงงานที่ใช้ในการทำนา สวนผลไม้เป็นแรงงานที่มีอายุ นอกจากนี้ยังมีแรงงานต่างด้าวที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม

  1. เศรษฐกิจพอเพียงท้องถิ่น (ด้านการเกษตรและแหล่งน้ำ) 7.1 ข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน ได้จัดตั้งจากองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 มีจำนวน 6 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ ๑ บ้านพร่อน นายสะอารี สะแต กำนันตำบลพร่อน หมู่ที่ ๒ บ้านดูซง นายอับดุซอมะ เมาะสาแม ผู้ใหญ่บ้าน
    หมู่ที่ 3 บ้านตาสา นายมะพาลี กาหลง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านท่าวัง นายมูฮัมมัดบูคอรี อาแซ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านควน นายผัดลูซูไฮมี  ตาเยะ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านจาหนัน นายดือราแม  ลาเต๊ะ ผู้ใหญ่บ้าน

7.2 ข้อมูลด้านการเกษตร

(1) บ้านพร่อน หมู่ที่ 1 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,371 ไร่

ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง  35  ครัวเรือน   500 ไร่  800  กก./ไร่  3,000 บาท/ไร่  8,000  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง -  ครัวเรือน        -  ไร่ - กก./ไร่ - บาท/ไร่ - บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี .  76 ครัวเรือน 750 ไร่ 5  กก./ไร่  บาท/ไร่ 18,000  บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง  .  26  ครัวเรือน 9  ไร่ 685  กก./ไร่  บาท/ไร่ 23,975  บาท/ไร่ สวน ลองกอง  .  44 ครัวเรือน   7 ไร่  584 กก./ไร่ บาท/ไร่  4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว  .  5 ครัวเรือน 2 ไร่ 800  กก./ไร่ บาท/ไร่ 8,000  บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่  อ้อย  4 ครัวเรือน 2 ไร่ 4,700  กก./ไร่  บาท/ไร่  18,800  บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
ครัวเรือน ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่





(2) บ้านดูซง หมู่ที่ 2 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,839 ไร่ ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง 91  ครัวเรือน 800 ไร่  346  กก./ไร่  -  บาท/ไร่  8,000  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง - ครัวเรือน - ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่  -  บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี.  70 ครัวเรือน 326 ไร่ 240 กก./ไร่  บาท/ไร่ 18,000 บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง . 28 ครัวเรือน 22 ไร่ 65 กก./ไร่  บาท/ไร่ 2,275 บาท/ไร่ สวน ลองกอง  . 26 ครัวเรือน 26 ไร่  584 กก./ไร่  บาท/ไร่ 4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว  .  8 ครัวเรือน   3 ไร่ 800 กก./ไร่  บาท/ไร่ 8,000 บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่  อ้อย  5 ครัวเรือน 2 ไร่ 4,700 กก./ไร่  บาท/ไร่ 18,800 บาท/ไร่ • ข้าวโพด  - ครัวเรือน - ไร่ -  กก./ไร่ -  บาท/ไร่ -  บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
. ..............ครัวเรือน .............ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่

(3) บ้านตาสา หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,079 ไร่ ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง 116  ครัวเรือน   900 ไร่  346  กก./ไร่  -  บาท/ไร่  8,000  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง
-  ครัวเรือน -  ไร่ - กก./ไร่ - บาท/ไร่ -  บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี.  38 ครัวเรือน 250 ไร่ 240 กก./ไร่ บาท/ไร่ 18,000 บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง . 27 ครัวเรือน 15 ไร่ 65 กก./ไร่ บาท/ไร่ 2,275 บาท/ไร่ สวน ลองกอง  . 35 ครัวเรือน 8 ไร่ 584 กก./ไร่  บาท/ไร่ 4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว  .  10 ครัวเรือน   4 ไร่ 800 กก./ไร่ บาท/ไร่  8,000 บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่  อ้อย  3 ครัวเรือน 3 ไร่ 4,700 กก./ไร่ บาท/ไร่ 18,800 บาท/ไร่  ข้าวโพด  3 ครัวเรือน 2 ไร่ 1,400 กก./ไร่ บาท/ไร่ 21,000 บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
. ..............ครัวเรือน .............ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่





(4) บ้านท่าวัง หมู่ที่ 4 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,008 ไร่ ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง  96  ครัวเรือน   200 ไร่  346  กก./ไร่  -  บาท/ไร่  8,000  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง - ครัวเรือน - ไร่ - กก./ไร่ - บาท/ไร่  -  บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี.  70 ครัวเรือน 583 ไร่ 240 กก./ไร่  บาท/ไร่ 18,000 บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง .  11 ครัวเรือน   5 ไร่ 65 กก./ไร่ บาท/ไร่ 2,275 บาท/ไร่ สวน ลองกอง  .  15 ครัวเรือน 15 ไร่  584 กก./ไร่  บาท/ไร่ 4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว  .  5 ครัวเรือน   3 ไร่ 800 กก./ไร่ บาท/ไร่ 8,000 บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่  อ้อย  4 ครัวเรือน 2 ไร่ 4,700 กก./ไร่  บาท/ไร่ 18,800 บาท/ไร่  ข้าวโพด  2 ครัวเรือน 1 ไร่ 1,400 กก./ไร่ บาท/ไร่ 21,000 บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
. ..............ครัวเรือน .............ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่ (5) บ้านควน หมู่ที่ 5 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,372 ไร่ ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง  80 ครัวเรือน   350 ไร่  800 กก./ไร่  3,000 บาท/ไร่  8,000  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง  -  ครัวเรือน   -  ไร่  -  กก./ไร่  -  บาท/ไร่  -  บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี.  90 ครัวเรือน 621 ไร่ 240  กก./ไร่ บาท/ไร่ 18,000 บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง .  16 ครัวเรือน 3 ไร่ 65 กก./ไร่ บาท/ไร่ 2,275 บาท/ไร่ สวน ลองกอง  .  24 ครัวเรือน 15 ไร่  584 กก./ไร่ บาท/ไร่ 4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว  .  5 ครัวเรือน   4 ไร่ 800 กก./ไร่ บาท/ไร่ 8,000 บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่ • อ้อย  - ครัวเรือน - ไร่ - กก./ไร่ - บาท/ไร่ - บาท/ไร่  ข้าวโพด  2 ครัวเรือน 22 ไร่ 1,400 กก./ไร่ บาท/ไร่ 21,000 บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
. ..............ครัวเรือน .............ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่

(6) บ้านจาหนัน หมู่ที่ 6 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,439 ไร่ ประเภทของการทำการเกษตร จำนวน ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย (บาท/ไร่) ราคาขายโดยเฉลี่ย (บาท/ไร่) 2.1) ทำนา • ในเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง  -  ครัวเรือน   - ไร่  -  กก./ไร่  -  บาท/ไร่  -  บาท/ไร่ • นอกเขตชลประทาน   • นาปี   • นาปรัง - ครัวเรือน -ไร่ -  กก./ไร่ - บาท/ไร่  -  บาท/ไร่ 2.2) ทำสวน สวน ยางพันธุ์ดี.  82 ครัวเรือน 630 ไร่ 240 กก./ไร่ บาท/ไร่ 18,000 บาท/ไร่ สวน ทุเรียนหมอนทอง . 12 ครัวเรือน 4 ไร่ 65 กก./ไร่ บาท/ไร่ 2,275 บาท/ไร่ สวน ลองกอง  . 20 ครัวเรือน 15 ไร่  584 กก./ไร่ บาท/ไร่ 4,088 บาท/ไร่ สวน มะพร้าว .  6 ครัวเรือน   4 ไร่ 800 กก./ไร่ บาท/ไร่ 8,000 บาท/ไร่ 2.3) ทำไร่  อ้อย  3 ครัวเรือน 2 ไร่ 4,700 กก./ไร่ บาท/ไร่ 18,800 บาท/ไร่ • ข้าวโพด  - ครัวเรือน - ไร่ - กก./ไร่ - บาท/ไร่ - บาท/ไร่ 2.4) อื่นๆ • อื่นๆ โปรดระบุ
. ..............ครัวเรือน .............ไร่ กก./ไร่ บาท/ไร่ บาท/ไร่ 7.3 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร (1) บ้านพร่อน หมู่ที่ 1 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,371 ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง 1 ไม่เพียงพอ
2.4 หนอง/บึง
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านพร่อน หมู่ที่ 1 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน

(2) บ้านดูซง หมู่ที่ 2 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,839  ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง 1 ไม่เพียงพอ
2.4 หนอง/บึง
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านดูซง หมู่ที่ 2 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน

(3) บ้านตาสา หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,079 ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง 1 ไม่เพียงพอ
2.4 หนอง/บึง
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย 1 ไม่เพียงพอ
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านตาสา หมู่ที่ 3 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน

(4) บ้านท่าวัง หมู่ที่ 4 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,088  ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง 1 ไม่พอเพียง
2.4 หนอง/บึง
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย 1 ไม่พอเพียง
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านท่าวัง หมู่ที่ 4 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน

(5) บ้านควน หมู่ที่ 5 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,372 ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง 2 ไม่เพียงพอ
2.4 หนอง/บึง
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย 4 ไม่เพียงพอ
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านควน หมู่ที่ 5 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน


(6) บ้านจาหนัน หมู่ที่ 6 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,439 ไร่ มีแหล่งน้ำทางการเกษตร ดังนี้


แหล่งน้ำ ทางการเกษตร ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำเกษตร


หากไม่เพียงพอหมู่บ้านมีน้ำทางการเกษตรไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด
เพียงพอ ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) กรณีที่ทราบโปรดระบุ
1.ปริมาณน้ำฝน

-

แหล่งน้ำ ทางการเกษตร
จำนวน (แห่ง) ความเพียงพอเพื่อการเกษตรตลอดทั้งปี เพียงพอ (แห่ง)
2. แหล่งน้ำธรรมชาติ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.





2.1 แม่น้ำ
2.2 ห้วย/ลำธาร
2.3 คลอง
2.4 หนอง/บึง 2 ไม่เพียงพอ
2.5 น้ำตก
2.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)...............................
3. แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น
3.1 แก้มลิง 1 ไม่เพียงพอ
3.2 อ่างเก็บน้ำ
3.3 ฝาย
3.4 สระ
3.5 คลองชลประทาน
3.6 อื่นๆ (โปรดระบุ)(1).................(2)............. (3)..............................

หมายเหตุ บ้านจาหนัน หมู่ที่ 6 น้ำที่ใช้เพื่อการเกษตร ไม่เพียงพอช่วงเดือนมีนาคม-พฤศจิกายน

7.4 ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) (1) บ้านพร่อน หมู่ที่ 1 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,371 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้

แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)
1. บ่อบาดาลสาธารณะ 2 2 ไม่เพียงพอ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.


2. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ 2 2 ไม่เพียงพอ
3. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
1
1
ไม่เพียงพอ
4. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
5. แหล่งน้ำธรรมชาติ
6. อื่นๆ ระบุ 6.1) .........................

(2) บ้านดูซง หมู่ที่ 2 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,839 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้

แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)
1. บ่อบาดาลสาธารณะ 4 4 เพียงพอ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

  1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ 1 1 ไม่เพียงพอ
  2. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
    4
    4
    ไม่เพียงพอ
  3. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
  4. แหล่งน้ำธรรมชาติ
  5. อื่นๆ ระบุ 4.6.1)  คลอง  .
    1
    1
    ไม่เพียงพอ

    (3) บ้านตาสา หมู่ที่ 3 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,079 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้ แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
    ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
    ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)

  6. บ่อบาดาลสาธารณะ 2 2 - ไม่เพียงพอ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

  7. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ - - - -

  8. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
    2
    2
    -
    ไม่เพียงพอ
  9. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
  10. แหล่งน้ำธรรมชาติ
  11. อื่นๆ ระบุ 6.1)  คลองตาสา 6.1)  คลองบือเจาะ 2
    ไม่เพียงพอ


    (4) บ้านท่าวัง หมู่ที่ 4 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,008 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้ แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
    ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
    ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)
  12. บ่อบาดาลสาธารณะ 2 2 - ไม่เพียงพอ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

  13. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ 1 1 - ไม่เพียงพอ

  14. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
    2
    2 -
    ไม่เพียงพอ
  15. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
  16. แหล่งน้ำธรรมชาติ
  17. อื่นๆ ระบุ 6.1) คลอง  .
    1
    1
    -
    ไม่เพียงพอ

    (5) บ้านควน หมู่ที่ 5 มีพื้นที่ทั้งหมด 2,372 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้

แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)
1. บ่อบาดาลสาธารณะ 1 1 ไม่เพียงพอ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

  1. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ 5 5 ไม่เพียงพอ
  2. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
    1
    1
    ไม่เพียงพอ
  3. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
  4. แหล่งน้ำธรรมชาติ
  5. อื่นๆ ระบุ 4.6.1)    .



    (6) บ้านจาหนัน หมู่ที่ 6 มีพื้นที่ทั้งหมด 1,439 ไร่ มีแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค) ดังนี้ แหล่งน้ำ จำนวน (แห่ง) การใช้งาน
    ความเพียงพอของน้ำอุปโภค บริโภคตลอดทั้งปี หากไม่เพียงพอ หมู่บ้านนี้มีน้ำอุปโภค บริโภค
    ไม่เพียงพอในช่วงเดือนใด ใช้ได้ (แห่ง) ใช้ไม่ได้ (แห่ง) เพียงพอ (แห่ง)

  6. บ่อบาดาลสาธารณะ  ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.  มิ.ย.  ก.ค.  ส.ค.  ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.

  7. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ 3 3 - ไม่เพียงพอ

  8. ประปาหมู่บ้าน (ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) - - - ไม่เพียงพอ
  9. ระบบประปา (การประปาส่วนภูมิภาค)
  10. แหล่งน้ำธรรมชาติ (บึง) 2 2 ไม่เพียงพอ
  11. อื่นๆ ระบุ 4.6.1)    .

  12. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 8.1 การนับถือศาสนา ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลพร่อน ประมาณร้อยละ 99 นับถือศาสนาอิสาม และร้อยละ 1 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีมัสยิดในเขตตำบลพร่อน ดังนี้

    1. มัสยิดนูรุลอามานและศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด มีนายมูฮามัดมารีดีน ปาแนแจกะ เป็นอีหม่าม และ นายอับดุลเลาะ บอสู เป็นคอเต็บ อละนายแวหามะ สามะอาลี เป็น บีหลั่น มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 1
    2. มัสยิดยาแมะบ้านพร่อน(บ้านดูซง) และศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด โดยมีนายอิสมาแอ ยูโซ๊ะ เป็นอีหม่าม นายมะรอกิ มะเด็ง เป็นคอเต็บ และนายอับดุลรอซะ ยูโซ๊ะ มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 2
    3. มัสยิดมาตอรูซอ และศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด โดยมีนายหะมิ สาบา เป็นอีหม่าม นายอับดุลเลาะ สาและ เป็นคอเต็บ และนายดือรอแม หะบู เป็นบีหลั่น มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 4
    4. มัสยิดยาแมะบ้านกำปงบูเกะและศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด โดยมีนายสะมะแอ มะนะแล เป็นอีหม่าม นายสะมะแอ อาซ่อง เป็นคอเต็บ และนายเซ๊ะ มะบูเกะ เป็นบีหลั่น มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 5
    5. มัสยิดยาแมะบ้านจาหนันและศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด โดยมีนายเซ็ง สะอิ เป็นอีหม่าม นายซาการิยา อาบู เป็นคอเต็บ และนายลาเต๊ะ ซามะ เป็นบีหลั่น มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 6
    6. มัสยิดดารูลอิควานบ้านจาหนันตือโล๊ะและศูนย์อบรมด้านจริยธรรมประจำมัสยิด โดยมีนายมูฮำหมัด ซีเด๊ะ เป็นอีหม่าม นายอับดุลเลาะ แลเม๊าะ เป็นคอเต็บ และนายสะรี ดาโอ๊ะ เป็นบีหลั่น มีคณะกรรมการบริหารมัสยิดจำนวน 12 คน รวม 15 คน ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 6


      8.2 ประเพณีและงานประจำปี ตำบลพร่อนมีงานประเพณีสำคัญ ประกอบด้วย การกวนอาซูรอ การจัดงานกินข้าวใหม่ การจัดงานวันฮารีรายอ การจัดงานกิจกรรมตาดีกาสัมพันธ์ประจำปี การแข่งว่าวประจำปี การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ เป็นต้น 8.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น ภาษาถิ่น ในตำบลพร่อน มีการใช้ภาษายาวี โดยในส่วนของภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญในตำบลพร่อน คือ การแพทย์แผนไทยในตำบล ซึ่งได้รวมตัวกันเป็นชมรมการแพทย์แผนไทย 8.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
    • ผ้าประดิษฐ์ขบวนขันหมาก
    • หัตถกรรมจักรสาน
    • ต้นไม้ประดิษฐ์
    • ตับจาก
    • ลายไม้แปรรูป
  13. ทรัพยาการธรรมชาติ 9.1 น้ำ น้ำที่ประชาชนในตำบลพร่อนใช้สำหรับการอุปโภค-บริโภคและทำการเกษตร มีดังนี้

    1. ฝาย ประกอบด้วย จำนวน 4 ฝาย ประกอบด้วย ฝายบ้านตาสา ฝายบ้านท่าวัง ฝายบ้านควน ฝายบ้านพร่อน
    2. บึงธรรมชาติ ประกอบด้วย บึงธรรมชาติยือมูแว ตั้งอยู่หมู่ที่ 5 บึงธรรมชาติเกาะลอยบ้านจาหนัน (ปูลาตีโม) หมู่ที่ 6 บึงธรรมชาติบะห์ลู หมู่ที่ 6
    3. แก้มลิงบ้านจาหนัน ตั้งอยู่หมู่ที่ 6 9.2 ป่าไม้ ในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลพร่อน มีพื้นที่ป่าไม้ จำนวน 11,108 ไร่ 9.3 ภูเขา ในเขตพื้นที่ตำบลพร่อน มีภูเขาจำนวน 3 ลูก ได้แก่ เขาบ้านควนอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 5      เขาจาหนันอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 6 และเขากำปงชูอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 9.4 คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพของทรัพยากรธรรมชาติในตำบลพร่อน ค่อนข้างจะสมบูรณ์ ทั้ง ดิน น้ำ ป่าไม้ จะเห็นได้จากเกษตรกรในพื้นที่สามารถทำการเกษตรได้ตลอดทั้งปี
stars
ข้อมูลกองทุน

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา  กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลพร่อน อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา เป็นกองทุนขนาดกลาง ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยได้ลงนามร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลพร่อน เพื่อเข้ามาดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่น พร้อมทั้งจัดทำระเบียบข้อบังคับของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นตำบลพร่อน เพื่อถือปฏิบัติ

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา      มีคณะกรรมการบริหารกองทุนและที่ปรึกษากองทุนรวม 19 คน ตามคำสั่งองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน  ที่ 505/2561 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2561 ดังนี้ 1. ผู้อานวยการโรงพยาบาลยะลา ที่ปรึกษากองทุน 2. สาธารณสุขอำเภอเมืองยะลา ที่ปรึกษากองทุน 3. ท้องถิ่นอำเภอเมืองยะลา ที่ปรึกษากองทุน 3. นายองค์การบริหารส่วนตาบลพร่อน ประธานกรรมการ 4. นายรุสดี ยูโซ๊ะ ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธาน 5. นายซาการียา อาบู ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธาน 6. นายสะมะแอ สะมอรี สมาชิกสภาอบต. กรรมการ 7. นายสะมะแอ อาบู สมาชิกสภาอบต. กรรมการ 8. ผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาสา กรรมการ 9. นางรสมี เจ๊ะมูซอ ผู้แทนอสม. กรรมการ 10. นางสาวซูไบเด๊าะ สาและ ผู้แทนอสม. กรรมการ 11. นางมารีเยาะ สะแต ผู้แทนหมู่บ้าน กรรมการ 12. นางหาซูเน๊าะ มูซอ ผู้แทนหมู่บ้าน กรรมการ 13. นางสาวไซด๊ะ มะมิง ผู้แทนหมู่บ้าน กรรมการ 14. นางสาวนิลวดี มูนา ผู้แทนหมู่บ้าน กรรมการ 15. นางนิตยา ดือเร๊ะ ผู้แทนหมู่บ้าน กรรมการ 16. นางพารีด๊ะ อุเซ็ง ผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกันฯ กรรมการ 17. ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลพร่อน    กรรมการและเลขานุการ 18. ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม  กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 19. ผู้อำนวยการกองคลัง กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

stars
แผนการดำเนินงานตามประเด็น
LOADING...

LOADING...

LOADING...

LOADING...

LOADING...

LOADING...

LOADING...

LOADING...