กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกรมีความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับ 1. เทคนิคการเจาะเลือดเกษตร 2. การเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร 3. การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก 4. การใช้เกษตรอินทรีย์
ตัวชี้วัด : หลังได้รับการอบรม แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกร 1. สามารถเจาะเลือดเกษตรกรเพื่อหาสารเคมีตกค้างในร่างกายได้ ร้อยละ 80 2. มีความรู้เกี่ยวกับการเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร และการใช้เกษตรอินทรีย์ ร้อยละ 80 3. สามารถตรวจหาสารเคมีตกค้างในผักได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/เฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถดูแลสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1. เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับอันตรายของสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างปลอดภัย หลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 2. หลังเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นร้อยละ 50
0.00

 

3 ข้อที่ 3. ผลการเจาะเลือดเกษตรอยู่ในระดับปลอดภัยมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. หลังการเข้าร่วมโครงการ ผลการเจาะเลือดเกษตรกรอยู่ในระดับปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 50
0.00

 

4 ข้อที่ 4. ไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในผักของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของผักที่เกษตรกรปลูกไม่พบการปนเปื้อนสารเคมี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 90
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้แกนนำคุ้มครองสุขภาพเกษตรกรมีความรู้/ทักษะ เกี่ยวกับ    1. เทคนิคการเจาะเลือดเกษตร    2. การเฝ้าระวังสุขภาพเกษตรกร    3. การตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก    4. การใช้เกษตรอินทรีย์ (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช/เฝ้าระวังอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และสามารถดูแลสุขภาพได้ (3) ข้อที่ 3. ผลการเจาะเลือดเกษตรอยู่ในระดับปลอดภัยมากขึ้น (4) ข้อที่ 4. ไม่พบการปนเปื้อนสารเคมีในผักของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม/อบรม (2) การเจาะเลือดเกษตรกร (3) การสุ่มตรวจผักของเกษตรกร (4) จัดทำคู่มือบันทึกสุขภาพเกษตรกร (5) ออกเยี่ยมแปลงผักของเกษตรกร (4 หมู่บ้านๆ ละ 1 ครั้ง) (6) รายงานผลโครงการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh