กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถทำกิจวัตรประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 (19ราย) 2. ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงที่เข้าร่วมโครงการได้รับการฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยครบตามเกณฑ์ (17ราย) 3. ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยมีผลทางคลินิกอยู่ในเกณฑ์ที่ดี (คะแนนเฉลี่ยมากกว่า 80 ขึ้นไป)
0.00

 

2 2. เพื่ออบรมส่งเสริมความรู้การดูแล เพิ่มพูนทักษะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้กับญาติ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 4. ญาติและผู้ดูแลมีความรู้ ทักษะในการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00

 

3 3. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเขตเทศบาลนครยะลา ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพด้วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : 5. ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงมีความพึงพอใจในกิจกรรมของโครงการ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 44
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 24
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง 20

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง สามารถฟื้นฟู สมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ สามารถทำกิจวัตรประจำวันเพื่อช่วยเหลือตนเองได้ดีขึ้น (2) 2. เพื่ออบรมส่งเสริมความรู้การดูแล เพิ่มพูนทักษะ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้กับญาติ ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้าน        ติดเตียง ได้อย่างถูกวิธี (3) 3. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียงในเขตเทศบาลนครยะลา  ได้รับการส่งเสริมดูแลสุขภาพด้วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย ติดบ้าน ติดเตียงที่บ้าน ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในเขตเทศบาลนครยะลา (2) อบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแล ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยให้กับญาติและผู้ดูแล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh