กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาระบบบูรณาการการป้องกันและจัดการโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงเพื่อลดอุบัติการณ์การเกิดรายใหม่และเพิ่มอัตราการควบคุมโรคได้ ปี2564

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ของประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ป่วยด้วยโรคความเบาหวานได้รับการคัดกรอง มากกว่าร้อยละ 90
90.00 95.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จากการคัดกรอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจากการคัดกรอง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
90.00 95.00

 

3 เพื่อติดตามกลุ่ม เสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน ได้จากการคัดกรอง ได้รับการติดตามเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
33.98 32.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มแฝง/เสี่ยง(SBP=120-139 mmHg.หรือ DBP=80-89 mmHg.) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : กลุ่มแฝง/เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ได้จากการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้าน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
17.64 15.00

 

5 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD risk และภาวะไตวายเรื้อรัง จนมีพยาธิสภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD risk และภาวะไตวายเรื้อรังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นจนมีพยาธิสภาพดีขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
40.00 50.00

 

6 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนด้วยการแช่เท้าด้วยสมุนไพรและได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ ตา ไต เท้า และเจาะเลือดประจำปี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในเขตรับบริการได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายฤๅษีดัดตนและได้รับการฝึกปฏิบัติการดูแลเท้าด้วยตนเองด้วยการแช่เท้าด้วยสมุนไพร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00 85.00

 

7 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ ไต ตา เท้า และเจาะเลือดประจำปี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ ไต ตา เท้า ผู้ป่วยเบาหวาน และเจาะเลือดประจำปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
40.00 42.00

 

8 เพื่อลดระดับความรุนแรงของโรคจากการได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเครื่องมือ “ปิงปองจราจร ชีวิต 7 สี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวาน ในเขตพื้นที่รับบริการได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในสถานบริการและชุมชน โดยใช้“ปิงปอง 7 สี สื่อสุขภาพ” ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00 62.00

 

9 เพื่อให้ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 40 และโรคความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3247
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 2,802
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 445
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองเบาหวานในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. 2 ส.ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จากการคัดกรอง (3) เพื่อติดตามกลุ่ม เสี่ยงเบาหวาน (ค่า DTX ≥ 100 mg/dL) มารับการเจาะ FBS หลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (4) เพื่อให้กลุ่มแฝง/เสี่ยง(SBP=120-139 mmHg.หรือ DBP=80-89 mmHg.) ได้รับการติดตามวัดความดันโลหิตที่บ้านหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (5) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD risk และภาวะไตวายเรื้อรัง จนมีพยาธิสภาพดีขึ้น (6) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังและป้องกันภาวะแทรกซ้อนด้วยการแช่เท้าด้วยสมุนไพรและได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ ตา ไต เท้า และเจาะเลือดประจำปี (7) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทุกคนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและได้รับการตรวจประเมินสุขภาพ ไต ตา เท้า และเจาะเลือดประจำปี (8) เพื่อลดระดับความรุนแรงของโรคจากการได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและเครื่องมือ “ปิงปองจราจร ชีวิต 7 สี (9) เพื่อให้ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ที่สามารถควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในชุมชนร่วมกับ อสม. (2) ติดตามเยี่ยมบ้านเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง CVD Risk และผู้ป่วยที่มีภาวะไตวายเรื้อรัง (3) อบรมการใช้ปิงปอง 7 สี ใน อสม. (4) อบรม 3 อ. 2 ส. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (5) ออกกำลังกายด้วยฤาษีดัดตนและส่งเสริม เฝ้าระวัง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh