กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยการรำมโนราห์ ในเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์

รหัสโครงการ 64-l7890-02-004 รหัสสัญญา 5/2564 ระยะเวลาโครงการ 14 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กรกฎาคม 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

1 มีการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตามหลัก 3 อ. โดยใช้ศาสตร์การมโนราห์วัตนธรรมพื้นถิ่น

2 ผู้สูงอายุและครูหมอโนราในพื้นที่มีการนำมโนราห์มาประยุกต์กับกิจกรรมทางกายแบบใหม่

1 จากจำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม ของเด็กและเยาวชนชุมชนประธานคีรีวัฒน์

2 เกืดการเรียนรู้เชิงปฎิบัติการในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์ร่วมกัน ระหว่างเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ในพื้นที่

1 ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องโดยใช้ศาสตร์การรำมโนราห์

2 ควรมีการประยุกต์ ท่าโนราห์แบบใหม่ๆ พร้อมท่า ฤษีดัดตน เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกาย ยืดเหยีดกล้ามเนื้อก่อน รำมโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

1 การสอนเด็กและเยาวชนนำเศษผ้าที่เหลือใช้มาใช้ในการเย็บผ้า เป็นอุปกรณ์ประยุกต์เป็นอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์

เกิดอุปกรณ์ประยุกต์ในการรำมโหราห์

ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม และให้เด็กและเยาวชน ร่วมทำกิจกรรมกับผู้สูงอายุมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ในพื้นที่ เด็กและเยาวชน เข้าร่วมโครงการ มีการนำศาสตร์ท่าร่ายรำมโนราห์ มาประยุกต์ใช้กับการออกกำลังกาย มีการทำสื่อ คลิปวิดีโอ เพื่อเผยแพร่ในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในพื้นที่

เกิดคลิปวิดีโอ เป็นสื่อเผยแพร่ในพื้นที่ เพื่อให้คนในพื้นที่ เห็นความสำคัญของกิจกรรมทางกายในพื้นที่ และเป็นการฟื้นฟูวัฒนธรรมในพืนที่ มาประยุกต์รูปแบบใหม่

ควรพัฒนาต่อโดยให้มี &หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ โดย การให้เด็กและเยาวชน ขยายผลต่อไปเผยแพร่การสร้างเสริมสุขภาพโดยการใช้ศาสตร์มโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

มีกลุ่ม "หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ"

1 เกิดกลุ่มกิจกรรมทางกายในพื้นที่โดยใช้วัฒนธรรมพื้นที่
2 เกิดกลุ่ม หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

ควรให้หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ ขยายผลต่อกับกลุ่มใหม่ในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

เกิดแหล่งเรียนรู้รักสุขภาพโดยใช้ศาสตร์มโนราห์

มีแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพในพื้นที่ 1 แห่ง

ควรมีการขยาย แหล่งเรียนรู้ในชุมชนในหลายๆ มิติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

1 ชุมชนมีการสร้างหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้ศาสตร์ โนราห์

เกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในพื้นที่

ในปีถัดไปควรมีการสร้างครัว เรือนต้นแบบ หรือบุคลต้นแบบ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิในของคนในพื้นที่ และสามารถไปถ่ายทอดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพให้ผู้อื่นได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย

จากการทำกิจกรรมตามหลัก 3 อ

ควรมีการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยตามหลักโภชนาการ ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง และมีการใช้เสียงตามสาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพให้แก่คนในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

มีการออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมของพื้นที่ สามารถทำกิจกรรมทางกายนี้ได้ทุกกลุ่มวัย

จากการจัดกระบวนการทำกิจกรรมในพื้นที่

1 มีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม ในปีถัดไป

2 เพิ่มการประยุกต์ท่วงท่าใหม่ๆ พร้อมประดิษฐ์ อุปกรณ์ที่ใช้ในการออกกำลังกาย ให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มวัย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

1 การเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมทางกายโดยใช้ศาสตร์มโนราห์ ทำให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดปประโยชน์ ห่างไกลจาก อบายมุขต่างๆ มากขึ้น สุขภาพเด็กดีขึ้น

1 จากการคัดกรองสุขภาพ และการสังเกตุพฤติกรรมผู้เข้าร่วมโครงการ

1 ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เด็กใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2 ควรเพิ่มกิจกรรมทางกายในพื้นที่ให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

1 การออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์ และการฟังทำนองมโนราห์ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการผ่อนคลายความเครียดมากขึ้น

2 การขยับร่างกายในการทำกิจกรรมทางกาย ทำให้ร่างกายผ่อนคลายความเครียด เป็นการเพิ่มออกซิเจนในร่างกาย มากขึ้น

1 จากการบันทึกสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกาย และจิดใจที่ดีขึ้น

ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

1 การใช้ศาสตร์มโนราห์ในการประยุกษ์ใช้ให้เด็กและเยาวชนมีกิจกรรมทางกายมากขึ้น และเป็นการสืบสานประเพณี

1 การนำมโนราห์ มาใช้ประกอบในการทำกิจกรรมทางกาย

ควรมีการประยุกต์ใช้ท่วงท่า ให้ง่ายต่อการออกกำลังกาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

1 การสร้างหมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ เพื่อให้เด็กและเยาวชน ดูแล คนในครอบครัวของตนเอง โดยแนะนำผู้ปกครอง ผู้สูงอายุในบ้านให้ดูแลสุขภาพและถ่ายทอดท่วงท่าในการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโดยใช้มโนราห์แบบง่ายๆ

1 จากการที่ หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ ลงไปถ่ายทอดความรุ้ให้แก่คนในครอบครัว

2 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพที่ดีขึ้น

1 ควรมีการทำกิจกรรมในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

2 ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

1 เกิดกลุ่มมโนราห์เด็กและเยาวชนในพื้นที่ เมื่อมีการจัดกิจกรรม หลายหน่วยงานจะเชิญเด็กไปรำมโนราเปิดงาน หรือการรำแก้บนต่างๆ ในพื้นที่

1 จากการทำกิจกรรมของเด็กและเยาวชน นอกเหนือจากการทำกิจกรรมทางกายที่ทำเป็นประจำในพื้นที่

ควรมีการขยายกลุ่มในการทำกิจกรรม ไปยังชุมชนใกล้เคียง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

1) บ้าน 1 หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

2) เด็กและเยาวชน อ่อนหวาน

1) เกิด หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

2) เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ไม่ติดหวาน ลดการกิน ขนมขบเคียว น้ำอัดลม มากขึ้น

1) ควรมีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และ เพื่มกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนในพื้นที่

2) มีการสร้างหมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ เพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงการทำกิจกรรมร่วมกับระหว่าง เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ในพื้นที่

1 เกิดกลุ่มเครือรักษ์สุขภาพในพื้นที่ 2 หมอน้อยประจำบ้าน 3 วัยรักสุขภาพ

ควรมีกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่องในพื้นที่

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

1) การให้ครูหมอโนราห์ แนะนำเป็นผู้นำในการทำกิจกรรมทางกายโดยใช้มโนราห์

จาการที่ครูหมอโนราในพื้นที่มาให้ความรู้ในการใช้ท่ามโนราห์อย่างถูกวิธี

ควรมีการเพิ่มแกนนำการออกกำลังกายโดยใช้มโนราห์

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

การออกกำลังกาย ด้วยการรำมโนราห์ อย่างต่อเนื่อง

แบบลงทะเบียนการเข้าร่วมโครงการ

ควรประชาสัมพันธ์และเชิญชวน เด็กและเยาวชน ในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเพิ่มมากยิ่งขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

1) เกิดการภาคภูมิใจในการใช้วัฒนาธรรมพื้นบ้านตามศาสตร์มโนราห์ในการถ่ายทอดการทำกิจกรรมทางกายในพื้นที่
2) ผู้สูงอายุและครูหมอโนราในพื้นที่ รู้สึกภาคภูมิใจและมีคุณค่าในตนเอง

1) จากการทำกิจกรรมร่วมกันในพื้นที่ของ เด็กและเยาวชน ผู้สูงอายุ ครูหมอโนราห์ และแกนนำในพื้นที่

ควรนำศิลปะและวัฒนธรรมอื่นๆ ในพื้นที่มาใช้ในการทำกิจกรรมทางกาย เพื่อไม่ให้ภวัฒนธรรมและภูมิปัญญาพื้นถิ่นหายไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ