กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงใน โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโลย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมให้ความรู้แกนนำ และ กลุ่มเสี่ยง/สงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง 1 เม.ย. 2564 1 เม.ย. 2564

 

1.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
1.2 เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิก กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 1.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเอง 1.4 อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปลดลง

 

-ร้อยละ 95.50 ของกลุ่มเสี่ยงในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ -ร้อยละ 92.40 ของกลุ่มเสี่ยง ในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออกกำลังกายและจัดการความเครียดที่ถูกต้อง -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมสุขศึกษาในระดับดีมาก เพื่อนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน
-ร้อยละ 0.35 ของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ปี 2564 ป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2565
-ร้อยละ 0.42 ของกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ปี 2564 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปี 2565

 

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และถอดบทเรียน ของ พชต. 1 ก.ค. 2564 1 ก.ค. 2564

 

1.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
1.2 เพื่อสร้างแกนนำในการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการขยายผลแก่สมาชิก กลุ่มเสี่ยงในชุมชน 1.3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดูแลตนเอง 1.4 อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปลดลง

 

-ร้อยละ 95.50 ของกลุ่มเสี่ยงในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ -ร้อยละ 92.40 ของกลุ่มเสี่ยง ในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออกกำลังกายและจัดการความเครียดที่ถูกต้อง -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมสุขศึกษาในระดับดีมาก เพื่อนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน
-ร้อยละ 0.35 ของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ปี 2564 ป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2565
-ร้อยละ 0.42 ของกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ปี 2564 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปี 2565

 

คัดกรองกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป 1 ต.ค. 2564 1 ต.ค. 2564

 

 

 

-ร้อยละ 95.50 ของกลุ่มเสี่ยงในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรค สามารถประเมินและแก้ไขภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ -ร้อยละ 92.40 ของกลุ่มเสี่ยง ในโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร, การออกกำลังกายและจัดการความเครียดที่ถูกต้อง -ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมสุขศึกษาในระดับดีมาก เพื่อนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในชุมชน
-ร้อยละ 0.35 ของกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ปี 2564 ป่วยเป็นเบาหวาน ปี 2565
-ร้อยละ 0.42 ของกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ปี 2564 ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ปี 2565