กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • จัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อฟื้นฟูความรู้ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน และวางแผนการตรวจคัดกรองผู้ที่มีภาวะเสี่ยงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ วันที่ 8 ตุลาคม 2564
  • ลงพื้นที่เชิงรุกในการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวานแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ วันที่ 15 ตุลาคม, 16 ตุลาคม และ 20 ตุลาคม 2564
    จากการดำเนินงาน พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น อัตราการเกิดโรคเรื้องรังลดน้อยลง ส่วนในกรณีที่ตรวจคัดกรองแล้ว กลุ่มเสี่ยงที่มีความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลเกินกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จะทำการประสานและแจ้งไปยังทางเจ้าหน้าที่ PCU มะกรูด เพื่อเข้าสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : ประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจ คัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ร้อยละ 70
70.00 54.20

 

2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง/ผู้ป่วยรายใหม่ ได้รับการส่งต่ออย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100
100.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.และแกนนำ ในการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก
ตัวชี้วัด : อสม. และแกนนำ ร่วมดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก ร้อยละ 80
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 189
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 189
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ และ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ และส่งต่ออย่างเป็นระบบ (3) เพื่อส่งเสริมบทบาทของ อสม.และแกนนำ ในการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ, ประชุม อสม. และแกนนำ  เพื่อวางแผนการตรวจคัดกรอง (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประชาชนอายุ 35 ปีในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh