โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE ”
ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซุลฟา จูเต๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร
กรกฎาคม 2564
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2477-2-05 เลขที่ข้อตกลง 14/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2477-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในชั้นวิกฤตการแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะมีการผลิตยาเสพติดในประเทศและมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศจุดอ่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการขยายตัวของปัญหายาเสพติดมาจากปัจจัยต่างๆเช่นการแพร่ระบาดค่านิยมพฤติกรรมเสี่ยงและก้าวไปสู่ปัญหายาเสติดที่เพิ่มมากขึ้นอันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติและเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติดอีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่นการลักขโมยฉกช่ิงวิ่งราวการเกิดปัญหาอาชญากรรมอื่นตามาอีกมากมายซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวมตามพระราบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537 แก้ใขเพ่ิมเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546เนื่องจากการป้องกันและแก้ไข้ปัญหายาเสพติดโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงที่เป็นเด็กและเยาวชนในสถานศึกษาเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ดังนั้นชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนผดุงมาตร จึงได้ตระหนังถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อให้ความรู้ คำแนะนำแนวทางป้องกันแก่เด็กและเยาวชนรวมทั้งร่วมเป็นเครือข่ายเฝ่าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชนภายในตำบลผดุงมาตร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด
- เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กิจกรรมนันทนาการและบำเพ็ญประโยชน์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงานในการอบรม
5
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชน มีความรู้และเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
2.เด็กและเยาวชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด
3.เด็กและเยาวชนมีความรักและความสามัคคีกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
25.00
25.00
2
เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด
25.00
25.00
3
เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีครอบครัวที่สมบูรณ์และมีความสุข
25.00
25.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
25
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงานในการอบรม
5
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด (3) เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กิจกรรมนันทนาการและบำเพ็ญประโยชน์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2477-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวซุลฟา จูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE ”
ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวซุลฟา จูเต๊ะ
กรกฎาคม 2564
ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2477-2-05 เลขที่ข้อตกลง 14/2564
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ถึง 31 กรกฎาคม 2564
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 64-L2477-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2564 - 31 กรกฎาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในปัจจุบันจัดได้ว่าอยู่ในชั้นวิกฤตการแพร่ระบาดของยาเสพติดได้ทวีความรุนแรงขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะมีการผลิตยาเสพติดในประเทศและมีการลักลอบนำเข้ามาจากต่างประเทศจุดอ่อนที่สำคัญที่ส่งผลต่อการขยายตัวของปัญหายาเสพติดมาจากปัจจัยต่างๆเช่นการแพร่ระบาดค่านิยมพฤติกรรมเสี่ยงและก้าวไปสู่ปัญหายาเสติดที่เพิ่มมากขึ้นอันจะส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของชาติและเป็นภาระงบประมาณของประเทศในการบำบัดรักษาผู้ป่วยที่เกิดจากการเสพยาเสพติดอีกทั้งยังเป็นปัญหาที่สร้างความรู้สึกสะเทือนใจและเจ็บปวดให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองปัญหายาเสพติดได้นำมาซึ่งความรุนแรงในครอบครัวและอาชญากรรมต่างๆในสังคม เช่นการลักขโมยฉกช่ิงวิ่งราวการเกิดปัญหาอาชญากรรมอื่นตามาอีกมากมายซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อสังคมโดยรวมตามพระราบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537 แก้ใขเพ่ิมเติมถึง(ฉบับที่ 6) พ.ศ.2552 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546เนื่องจากการป้องกันและแก้ไข้ปัญหายาเสพติดโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงที่เป็นเด็กและเยาวชนในสถานศึกษาเป็นนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.)ดังนั้นชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนผดุงมาตร จึงได้ตระหนังถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อให้ความรู้ คำแนะนำแนวทางป้องกันแก่เด็กและเยาวชนรวมทั้งร่วมเป็นเครือข่ายเฝ่าระวังการแพร่ระบาดของยาเสพติดในโรงเรียนและชุมชนภายในตำบลผดุงมาตร
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด
- เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กิจกรรมนันทนาการและบำเพ็ญประโยชน์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงานในการอบรม | 5 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กและเยาวชน มีความรู้และเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด 2.เด็กและเยาวชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด 3.เด็กและเยาวชนมีความรักและความสามัคคีกัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด |
25.00 | 25.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด |
25.00 | 25.00 |
|
|
3 | เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีครอบครัวที่สมบูรณ์และมีความสุข |
25.00 | 25.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 25 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงานในการอบรม | 5 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองในการป้องกันปัญหายาเสพติด (3) เพื่อลดจำนวนเด็กและเยาวชนที่มีปัญหาทางครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องพิษภัยของยาเสพติด (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ กิจกรรมนันทนาการและบำเพ็ญประโยชน์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้การป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดTO BE NUMBER ONE จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 64-L2477-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวซุลฟา จูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......