กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโรคโลหิตจางในเด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ตำบลยาบี ประจำปี 2564

รหัสโครงการ 64-L3070-1-4 รหัสสัญญา 7/2564 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2564 - 30 กันยายน 2564

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

จากสถานการณ์ของตำบลยาบี ในปีที่ผ่านมามีผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจางในเด็ก จำนวน 3 ราย อยู่ในหมู่ 4 จำนวน 2 ราย และหมู่1 จำนวน 1 ราย ซึ่งขณะนี้ผู้ป่วยกำลังรักษาต่อเนื่องที่ รพ.หนองจิก 2 ราย รักษาที่ รพ.ยะรัง 1 ราย ส่งผลกระทบในด้านพัฒนาการล่าช้า 1 ราย ซึ่งได้รับการส่งต่อไปรักษาที่ รพ.ปัตตานีอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นพัฒนาการในเด็กส่วนด้านวัคซีนเด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากเด็กป่วย

ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

วิธีดำเนินการ

1.กิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลยาบี เกี่ยวกับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็ก เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการนำไปดำเนินงานต่อไป

2.จัดกิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กเกี่ยวกับภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจางที่เกิดขึ้นในเด็ก

3.เจาะเลือดปลายนิ้วในเด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ปีเพื่อประเมินภาวะซีด

4.ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กแก่เด็กทุกคนที่เข้าร่วมโครงการ

5.ให้ยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กที่มีภาวะโลหิตจางทุกคน

6.ส่งต่อพบแพทย์ในรายที่พบปัญหา

7.จัดทำทะเบียนติดตาม เดือนละ 1 ครั้ง โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในรายที่พบภาวะซีด

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

1.กิจกรรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคโลหิตจางในเด็ก แก่อสม.ตำบลยาบี จำนวน 38 คน

2.กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 100 คน เกี่ยวกับภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจางที่เกิดขึ้นในเด็ก กิจกรรมย่อย -ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง -เจาะเลือดปลายนิ้วในเด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ปีเพื่อประเมินภาวะซีดในเด็ก -แจ้งผลการคัดกรองให้กับผู้ปกครองได้ทราบ -จัดแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม 1.กลุ่มปกติ 2.กลุ่มที่มีภาวะซีด

3.ส่งต่อพบแพทย์ในรายที่พบปัญหา

4.ติดตามผล HCT เดือนละ 1 ครั้งโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

-

-

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

พักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขอนามัย ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคยทำมาก่อน

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ทานอาหารให้เพียงพอและถูกสุขลักษณะอนามัย

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

ติดต่อกับครอบครัวและเพื่อนฝูงอย่างต่อเนื่องอาจลองทำงานอดิเรกใหม่ ๆ ที่ไม่เคย

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

-

-

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

1.กิจกรรมให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคโลหิตจางในเด็ก แก่อสม.ตำบลยาบี จำนวน 38 คน

2.กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก จำนวน 100 คน เกี่ยวกับภาวะซีดหรือภาวะโลหิตจางที่เกิดขึ้นในเด็ก กิจกรรมย่อย -ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูง -เจาะเลือดปลายนิ้วในเด็กอายุ 9 เดือนถึง 5 ปีเพื่อประเมินภาวะซีดในเด็ก -แจ้งผลการคัดกรองให้กับผู้ปกครองได้ทราบ -จัดแบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม 1.กลุ่มปกติ 2.กลุ่มที่มีภาวะซีด

3.ส่งต่อพบแพทย์ในรายที่พบปัญหา

4.ติดตามผล HCT เดือนละ 1 ครั้งโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

-

-

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

-

-

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่มโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบีกับกลุ่มประชาชนในตำบลยาบี

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปีได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ได้จัดโครงการ เฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในเด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ตำบลยาบี เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพที่อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็กและหามาตรการเพื่อการดูแลและแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กตั้งแต่เริ่มต้นเพื่อให้เด็กตำบลยาบี มีสุขภาพดีปราศจากภาวะโลหิตจางพร้อมสำหรับการเรียนรู้ในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

-

-

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เป็นโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ตำบลยาบี เพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพที่อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็กและหามาตรการเพื่อการดูแลและแก้ไขปัญหาภาวะซีดในเด็กตั้งแต่เริ่มต้นเพื่อให้เด็กตำบลยาบี มีสุขภาพดีปราศจากภาวะโลหิตจางพร้อมสำหรับการเรียนรู้ในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข เป็นการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลยาบี ตามข้อ 10 (1) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561

1.เด็กอายุ 9 เดือน - 5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางและได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก

2.เด็กที่ตรวจพบภาวะซีดต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

-

-

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

-

-