กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนร่วมใจส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลและปลอดภัย (RDU) โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตันหยงจึงงา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ
30.00 10.00

 

2 เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล
ตัวชี้วัด : ร้อยละการใช้ยาปฎิชีวนะในโรคติดเชื้อที่ระบบการหายใจช่วงบนและหลอดลมอักเสบเฉียบพลันลดลง
4.52 0.00

 

3 เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของร้านค้า ร้านชำ ที่มีการนำยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาสเตียรอยด์ มาขายในชุมชน
20.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ร้านค้า 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร (2) เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา มีความรู้ความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย ครอบคลุมทั้งยาปฏิชีวนะ ยาชุด และยาเสตียรอยด์ อย่างสมเหตุและสมผล (3) เพื่อให้คนในตำบลตันหยงจึงงา ร่วมกันเฝ้าระวัง ตรวจสอบแหล่งขายยาในชุมชน เช่น ร้านค้า ร้านชำ ร้านขายยา มิให้มีการลักลอบขายยาปฏิชีวนะและยาสเตียรอยด์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน ให้มีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการจัดการอาหารและยาในชุมชน และกำหนดข้อตกลงในชุมชน (2) การปรับระบบ กลไก 1.การพัฒนาระบบเฝ้าระวังเรื่องการจัดการอาหารในชุมชน 2.การพัฒนาระบบคุ้มครองผู้บริโภคด้านอาหาร 3.การจัดตั้งชมรม กลุ่ม เครือข่ายต่างๆ ในชุมชนเพื่อการจัดการอาหาร (3) การเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh