กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอได้จัดโครงการหนูน้อยฟันสวย สุขภาพฟันดี โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหมอ โดยจัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน โรคช่องปากและโรคฟันผุของเด็กก่อนวัยเรียน ความสำคัญของฟันน้ำนม ให้กับครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และกิจกรรมคัดเลือกหนูน้อยฟันสวย ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องเป็นอย่างดี ทำให้การดำเนินโครงการสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีสุขภาพช่องปากที่ดี
0.00

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อให้เด็กได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพฟัน มีฟันผุลดลง
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีฟันผุลดลง
0.00

 

3 ข้อที่ 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้แปรงฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 แปรงฟันได้ถูกวิธี
0.00

 

4 ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็ก
ตัวชี้วัด : 1. ครู ผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและ ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจถึงการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็ก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 86
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 86
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี (2) ข้อที่ 2.เพื่อให้เด็กได้รับการแก้ปัญหาสุขภาพฟัน มีฟันผุลดลง (3) ข้อที่ 3.เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้แปรงฟันอย่างถูกวิธี (4) ข้อที่ 4. เพื่อส่งเสริมให้ ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากในเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เก็บรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับ สุขภาพช่องปาก / การดูแลช่องปาก และ พฤติกรรมการกิน (2) ส่งเสริมให้ความรู้วิธีดูแลรักษาฟัน และวิธีการแปรงฟัน (3) อบรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครอง นักเรียน (4) ประกวดหนูน้อยฟันสวย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh