กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา

รายละเอียดโครงการ
รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านห้วยพลู
วันที่อนุมัติ 29 กันยายน 2563
ปี 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 ธันวาคม 2563 - 30 กันยายน 2564
งบประมาณ 20,000.00
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางผดุงศรี อินประเสริฐ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
  1. ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง ขนาด 75.00
  2. ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน ขนาด 100.00
  3. ร้อยละของสถานที่ในชุมชน (ตลาด ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน สนามกีฬา และสถานที่ทำงาน) ที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 ขนาด 100.00
  4. จำนวนจิตอาสาที่สามารถมาช่วยเหลือคนในชุมชนได้ ขนาด 130.00
  5. ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ขนาด 100.00
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
  1. เพื่อเพิ่มให้คนในชุมชนที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 ได้ถูกต้อง
  2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
  3. เพื่อให้สถานที่ในชุมชนที่ใช้มาตรการป้องกันโควิด-19 มีเพิ่มขึ้น
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนจิตอาสาที่สามารถช่วยเหลือคนในชุมชน
  5. เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนที่สามารถเข้าถึงอาหารในช่วงโควิด-19 ได้เพิ่มขึ้น
การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมให้ความรู้กับกลุ่มแกนนำสุขภาพ
  2. รณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์
วิธีดำเนินการ
  1. ติดต่อประสานงานกับกลุ่มแกนนำสุขภาพเพื่อแจ้งกลุ่มเป้าหมายเข้าขับการอบรม
  2. จัดอบรมให้ความรู้กับกลุ่มแกนนำสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19)
  3. รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid ๒๙) ดำเนินการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาขนรับรู้ข้อมูล สถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ
  4. สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVD – 19) โดยจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางในการสอบสวนโรคและควบคุมโรค ของ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข
  5. การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) 4.ติดตามสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์ และแจ้งให้ประชาชนทราบเป็นระยะ 5สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2.ประชาชนในพื้นที่ได้การป้องกันการติดเชื้อจากโรคติดต่อ
  2. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจนมีประสิทธิภาพ