กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
จัดกิจกรรมให้ความรู้ ในเรื่องสารตกค้าง สารปนเปื้อนในผัก ในอาหาร และการผสมปุ๋ยจาก มูลสัตว์เว้นจากการใช้เคมี 20 เม.ย. 2564 24 ก.ค. 2564

 

มีการประชุมเครือข่ายองค์กรและตัวแทนกลุ่มเปราะบาง มีสมาชิกเข้าร่วมประชุมทั้งหมด จำนวน 30 คน ในการประชุมสมาชิกได้รับทราบถึงวัตถุประสงค์ดังนี้
1. ได้รับทราบถึงกิจกรรมโครงการที่จะปฎิบัติ
2. สมาชิกซึ่งได้รับการเรียนรู้จากองค์กร ได้รับทราบถึงกิจกรรมโครงการที่จะปฎิบัติ
3. มีส่วนร่วมในการผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์ ของกลุ่มที่แปลงสาธิตของชุมชน หมู่ที่ 7 ตำบลพนมวังก์ และทุกคนได้มีความรู้ เพื่อนำไปใช้ในการปลูกผักปลอดสารพิษที่บ้านตนเองได้ ซึ่งในการดำเนินการทำแปลงสาธิตที่ศูนย์เรียนรู้

 

1.มีสามชิกกลุ่มเปราะบาง จำนวน 30 คน
2.กลุ่มเปราะบางมีความรู้เรื่องสารเคมีตกค้างในพืชผัก และอาหาร การผลิตปุ๋ยจากมูลสัตว์

 

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีโดยการทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารเคมี 26 เม.ย. 2564 24 ก.ค. 2564

 

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีโดยการทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารเคมี มีการดำเนินกิจกรรมดังนี้
1มีการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารเคมีตกค้าง โดยมีการทำแปลงสาธิตการปลูกผักปลอดสารเคมีที่ศูนย์เรียนรู้ร่วมกัน
2ให้กลุ่มเปราะบางได้เรียนรู้ร่วมกัน
3กลุ่มเปราะบางได้นำความรู้ไปปฎิบัติทำกิจกรรมที่บ้านของตนเอง
4เพื่อนำไปประกอบอาหารประจำวัน และเพื่อการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว
5มีการทำแปลงผักปลอดสารพิษที่บ้านกลุ่มเปราะบาง ที่บ้าน จำนวน 1 แปลง ต่อครอบครัว และมีการปลูกผักปลอดสารพิษไว้บริโภคทุกครอบครัว

 

1.เกิดแปลงสาธิต  จำนวน  1  แปลง  และแปลงของกลุ่มเปราะบางในชุมชน  มีจำนวนคนละ 1-5 แปลง ต่อครอบครัว 2.กลุ่มเปราะบางได้กินอาหารที่ปลอดสารพิษ  และมีผลดีสุขภาพ