กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

จัดทำคู่มือ อบรมให้ความรู้

กิจกรรม : จัดทำคู่มือ อบรมให้ความรู้
วันที่ 22/03/2021 - 31/08/2021
งบประมาณที่ตั้งไว้ 25,000.00 บาท
กลุ่มเป้าหมาย 0 คน
รายละเอียดกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม :
วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)
ขั้นตอน/กิจกรรม ลักษณะกิจกรรม วันปฏิบัติงาน
P = Plan(การวางแผน)
- ประชุมผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อชี้แจงกำหนดโครงการ - ประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ เพื่อพิจารณาวางแผน รูปแบบของกิจกรรม จำนวนงบประมาณที่เหมาะสม วันที่ดำเนินโครงการพร้อมกำหนดผู้รับผิดชอบโครงการมีนาคม 2564
- นัดหมายผู้รับผิดชอบเพื่อประชุมวางแผนการดำเนินงาน -


ประชุมเพื่อกำหนดผู้รับผิดชอบฝ่ายต่าง ๆ ของโครงการพร้อมกำหนดลักษณะกิจกรรมต่าง ๆ ภายในโครงการ
- วางกำหนดการประชุมคณะกรรมการเพื่อติดตามการเตรียมงานของฝ่ายต่าง ๆ มีนาคม
2564
- ร่างคำสั่งแต่งตั้งฯ - ร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ ฯมีนาคม
2564
- ร่างใบเสนอโครงการ - ร่างใบเสนอโครงการเสนอต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลน้ำดำ มีนาคม
2564
- เสนอใบโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ - เสนอใบโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ มีนาคม
2564
- ประชุมกับผู้รับผิดชอบโครงการ - ประชุมเพื่อวางแผนการเตรียมงาน
มีนาคม
2564
D = Do (การปฏิบัติ)
- ดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณ - ดำเนินการเกี่ยวกับการเบิก-จ่าย งบประมาณดำเนินโครงการ พฤษภาคม
2564
- จัดเตรียมงาน - ประชุมคณะกรรมการเพื่อเตรียมความพร้อม
- ทุกกิจกรรมเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ ตามแผนของแต่ละกิจกรรม
ฝ่ายวิชาการ
1. ศึกษาและวิเคราะห์บทเรียนการกลั่นแกล้งในโรงเรียน
2. ออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสมต่อวัยของนักเรียน
3.จัดทำคู่มือครูและนักเรียน
ฝ่ายกิจกรรม
- เตรียมสถานที่จัดกิจกรรม
- เตรียมใบลงทะเบียนและใบประเมิน
- เตรียมอาหารและเครื่องดื่มภายในงาน(ถ้ามี)
- เตรียมรถ (กรณีกิจกรรมออกนอกพื้นที่)
พฤษภาคม2564
- ดำเนินโครงการตามกำหนดการ - ผู้รับผิดชอบกิจกรรมควบคุมการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดไว้ ดังนี้
- ให้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน
- ดำเนินโครงการตามแผนที่กำหนดไว้
- บันทึกวีดิโอและภาพนิ่งของกิจกรรมนั้นๆ มิถุนายน-กรกฎาคม
2564
C = Check (การตรวจสอบ)
- ติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานขณะปฏิบัติงาน - ประธานโครงการ ติดตาม และตรวจสอบการดำเนินโครงการให้เป็นไปตามรูปแบบที่กำหนดไว้ มิถุนายน-กรกฎาคม
2564
- ประเมินโครงการหลังเสร็จสิ้นการจัดงาน - ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน
- สัมภาษณ์นักเรียน และ ครู
- ให้นักเรียน และ ครู ทำแบบทดสอบวัดความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม
- สรุปและประเมินผลการดำเนินงานต่างๆ เชิงสถิติ สิงหาคม
2564
A = Action (การปรับปรุงและพัฒนา)
- รวบข้อมูลและสรุปผลการประเมิน - รวบรวมข้อมูลและสรุปผลการประเมินตามวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ สิงหาคม
2564
-รวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหา/ข้อเสนอแนะอุปสรรค - ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ เพื่อรวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน ปัญหา ข้อเสนอแนะ และอุปสรรคจากฝ่ายต่างๆ เพื่อจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการเสนอต่อคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องในลำดับต่อไป สิงหาคม
2564
- สรุปค่าใช้จ่ายในโครงการ - สรุปค่าใช้จ่ายในโครงการ สิงหาคม
2564
- สรุปผลการดำเนินโครงการ - จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ สิงหาคม
2564
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะและความรู้ความเข้าใจในการดูแลนักเรียนให้แก่ครูและบุคคลากรภายในโรงเรียน 4,750 บาท


มิ.ย. 64
1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับครูและบุคลากร รวมจำนวน 18 คน1 มื้อ x 25 บ. x 18 คน = 450 บ.
1.2 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท1 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท = 1,800 บ.
1.3 ค่าป้ายโครงการอบรม1 ป้าย x 2 เมตรๆ ละ 250 บาท = 500 บ.
1.4 ค่าจัดทำคู่มือครู จำนวน 20 เล่ม เล่มละ 100 บาท 20 เล่ม x 100 บาท = 2,000 บ.
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2. อบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพจิตแก่นักเรียน ด้วยการส่งเสริมแนวคิดและพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่นักเรียนผ่านสื่อและกิจกรรมต่าง ๆ
2. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่องส่งเสริมสุขภาพจิตดี ไม่บูลลี่ใคร ระดับชั้น ป.1 – ม.3 7,800 บาท

มิ.ย. 64
2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียนชั้น
ป.1 – ม.3 จำนวน 185 คน1 มื้อ x 20 บ. x 185 คน = 3,700 บ.
2.2 ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน ๆ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท2 คน x 3 ชั่วโมง x 600 บาท = 3,600 บ.
2.3 ค่าป้ายโครงการอบรม1 ป้าย x 2 เมตรๆ ละ 250 บาท = 500 บ.
กิจกรรมตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้นักเรียนผลิตสื่อที่ส่งเสริมการมีสุขภาพจิตที่ดีและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียนผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์
3. จัดกิจกรรมผลิตสื่อและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการกลั่นแกล้งเพื่อนในโรงเรียนผ่านสื่อออนไลน์และออฟไลน์ 12,450








ก.ค. 64
1) กิจกรรมสร้างและเล่านิทาน แยกเป็น 2 ส่วน คือ
- นักเรียนที่สร้างนิทาน คือระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 50 คน
- นักเรียนที่ถูกเล่านิทาน คือระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จำนวน 76 คน 5,500 บาท
- อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาจำนวน 50 คน 20 บ. x 50 คน = 1,000 บ.
- ค่าวัสดุอุปกรณ์และการจัดพิมพ์นิทาน 9 เรื่อง ๆ ละ 1 เล่ม9 เรื่อง/9เล่ม x 10 ชุด x 50 บาท = 4,500 บ.
2) กิจกรรมการ การจัดบอร์ด แผ่นพับ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 85 คน 2,150
- อาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาจำนวน 85 คน 20 บ. x 85 คน = 1,700 บ.
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดบอร์ด450 บ.
3) กิจกรรมการทำสื่อออนไลน์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 -
4) กิจกรรมการถ่ายทำหนังสั้น ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 1,000 บาท
- ค่าถ่ายทำและตัดต่อวิดีโอห้องละ 1 เรื่อง จำนวน 4 ห้อง รวม 4 เรื่อง4 เรื่อง x 250 บาท= 1,000 บ.
5) กิจกรรมการแข่งขันการจินตนาการวาดภาพระบายสี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 2,400 บาท
- ค่ารางวัล ห้องละ 3 รางวัล จำนวน 3 ห้อง3 ห้อง x 600 บาท= 1,800 บ.
- ค่ากระดาษวาดภาพและสีไม้ จำนวน 3 ห้องวัสดุวาดภาพ 200 บาท x 3 ห้อง = 600 บ.
6) กิจกรรมการแต่งกลอนหรือคำขวัญ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6
- ค่ารางวัล จำนวน 5 รางวัล รางวัลละ 200 บาท 1,000 บาท
7) กิจกรรมสร้างความเข้าอกเข้าใจในหมู่นักเรียน ระดับชั้น ป.1-ม.3 -
8) กิจกรรมการเผยแพร่ทั้งในแบบออนไลน์และออฟไลน์ จำนวน 20 คน 400 บ.
- อาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับนักเรียนชั้น ป.4-ป.6 จำนวน 20 คน 20 บ. x 20 คน = 400 บ.
รวม 25,000 บาท