กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเยาวชนสดใส ห่างไกลยาเสพติด

รายละเอียดโครงการ
รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการเยาวชนสดใส ห่างไกลยาเสพติด
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน บ้านห้วยพลู
วันที่อนุมัติ 29 กันยายน 2563
ปี 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 เมษายน 2564 - 8 เมษายน 2564
งบประมาณ 40,000.00
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางผดุงศรี อินประเสริฐ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะขนุน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น
แผนงานสุรา , แผนงานยาสูบ , แผนงานสิ่งเสพติด
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
  1. จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย(ครั้ง) ขนาด 0.00
  2. งบประมาณโดยรวมที่ใช้ในการควบคุมปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(บาท) ขนาด 40000.00
  3. กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ(กิจกรรม) ขนาด 1.00
  4. งบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขนาด 30000.00
  5. จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงาน เพื่อการจัดการควบคุมยาสูบ (คน) ขนาด 200.00
  6. กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน(คน) ขนาด 200.00
  7. จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(คน) ขนาด 200.00
  8. จำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน(กิจกรรม/นวัตกรรม) ขนาด 1.00
  9. จำนวนกิจกรรมและนวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการควบคุมยาสูบ (จำนวนกิจกรรม/นวัฒกรรม) ขนาด 1.00
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
  1. เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
  2. เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติดในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มงบประมาณโดยรวมที่ใช้ในการควบคุมปัญหายาเสพติดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  4. เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานเรื่องการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  6. เพื่อเพิ่มงบประมาณที่ใช้ในการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
  7. เพื่อเพิ่มจำนวนรูปแบบกิจกรรม นวัตกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในชุมชน
  8. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายคนทำงานเพื่อการจัดการควบคุมยาสูบในชุมชน
การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. อบรมให้ความรู้ แก่เด็ก และ เยาวชน
วิธีดำเนินการ
  1. จัดอบรมให้ความรู้ จำนวน 2 วัน
  2. จัดกระบวนการระดมความคิดในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนและแนวทางป้องกันปัญหายาเสพติด
  3. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชน มีภูมิคุ้มกันยาเสพติดและ ได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด 2.มีเครือข่ายนักเรียนในการป้องกันและแก้ไขต่อต้านยาเสพติด 3.ลดการขยายตัวของปัญหายาเสพติด และลดการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษา 4.เยาวชนมีจิตสำนึก มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยยาเสพติดที่มีผลต่อสุขภาพอนามัยและส่งผลกระทบต่อปัญหาสังคมตลอดจนความมั่นคงของชาติ 5. สถานศึกษามีความเข้มแข็งและสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้