กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคและสามารถนำไปปฏิบัติและแนะนำให้กับคนในครัวครัวและชุมชน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มร้อยละของอาสาสมัครฯและภาคีเครือข่ายสุขภาพวางแผนการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคประชาชนได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอาสาสมัครฯ และภาคีเครือข่ายสุขภาพวางแผนการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคประชาชนได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น
70.00 80.00 90.00

การป้องกันโรคต้องได้รับความร่วมมือกันทุกภาคส่วน มีแบบแผน และมีขั้นตอนในการดำเนินการ

2 เพิ่มร้อยละของปัญหาสุขภาพของประชาชนได้รับการบรรจุในแผนสุขภาพของหมู่บ้าน/ตำบล
ตัวชี้วัด : ร้อยละของปัญหาสุขภาพของประชาชนได้รับการบรรจุในแผนสุขภาพของหมู่บ้าน/ตำบลเพิ่มขึ้น
60.00 75.00 90.00

ร้อยละของปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็นปัญหาที่ควรบรรจุในแผนสุขภาพของหมู่บ้าน/ตำบล เพิ่มชึ้น ทำให้อาการป่วยลดลง

3 เพิ่มร้อยละของอาสาสมัครฯ และเครือข่ายสุขภาพเขียนโครงการแก้ไขปัญหาที่ดีและถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของอาสาสมัครฯ และเครือข่ายสุขภาพเขียนโครงการแก้ไขปัญหาที่ดีและถูกต้องเพิ่มขึ้น
60.00 75.00 90.00

การเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณอาสาสมัครฯ และเครือข่ายสุขภาพยังขาดความรู้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มร้อยละของอาสาสมัครฯและภาคีเครือข่ายสุขภาพวางแผนการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคประชาชนได้ถูกต้อง (2) เพิ่มร้อยละของปัญหาสุขภาพของประชาชนได้รับการบรรจุในแผนสุขภาพของหมู่บ้าน/ตำบล (3) เพิ่มร้อยละของอาสาสมัครฯ และเครือข่ายสุขภาพเขียนโครงการแก้ไขปัญหาที่ดีและถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีสุขภาพเพื่อคืนข้อมูลด้านสุขภาพสู่ชุมชนและการเขียนแผนสุขภาพชุมชน (2) การประชุมวางแผนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพแก่ อสม. และภาคีสุขภาพ (3) เขียนโครงการแก้ปัญหาสุขภาพเพื่อขอรับทุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพของ อบต.ป่าชิง (4) พัฒนาศักยภาพ อสม. และภาคีเครือข่ายในการจัดทำโครงการฯเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของประชาชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh