กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัจจุบัน ปัญหาของการจัดการศึกษาของประเทศไทย เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน จะเห็นได้ว่าประเทศเทศไทยจัดอยู่ในอันดับรั้งท้าย นอกจากปัญหาดังกล่าวแล้วยังพบปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการมีน้ำหนักตัวเกินเกณฑ์สำหรับนักเรียนที่เรียนในเขตเมือง และน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์สำหรับ นักเรียนที่เรียนในถิ่นทุรกันดาร ซึ่งปัญหาดังกล่าวกำลังเป็นภัยคุกคามที่จะส่งผลต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกายส่วนรวม อีกทั้งจะเป็นปัญหาที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งโดยธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมตอนต้นมีความต้องการที่จะเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆ อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 3-4 ชั่วโมง จึงทำให้เกิดการใช้พลังงานไม่สมดุลกับการรับประทานอาหารในแต่ละวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารจานด่วนทั้งหลาย  และปัญหาการขาดแคลนด้านทุพโภชนาการ กล่าวคือ น้ำหนักตัวที่ต่ำกว่าหรือเกินเกณฑ์มาตรฐาน ส่งผลให้การเรียนการสอนทำได้ไม่เต็มที่และขาดหลักโภชนาการขาดความสนใจเกี่ยวกับการออกกำลังกาย ปัญหาการขาดการออกกำลังกาย เด็กและเยาวชนจำนวนมากในเขตเทศบาลตำบลเจ๊ะบิลังไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายจึงใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน การนั่งดูโทรทัศน์ตลอดเวลา ทำให้ร่างกายไม่มีการเคลื่อนไหวออกกำลังกาย ซึ่งมีผลเสียต่อสุขภาพ ในระยะแรกอาจทำให้เป็นโรคอ้วน ขาดความคล่องตัว เซื่องซึม ขาดความกระตือรือร้น    ไม่แจ่มใส ในระยะยาว การไม่ออกกำลังกาย ร่วมกับการบริโภคที่ไม่ดีจะทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เป็นต้น ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพโดยใช้กิจกรรมทางกาย มาพัฒนาเป็นกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพแก่เด็กและเยาวชน สนับสนุนกิจกรรมการออกกำลังกาย และกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชน อีกทั้งระดมทรัพยากรในพื้นที่เพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมการออกกำลังกายและกีฬาเพื่อสุขภาพสำหรับเด็กและเยาวชน รวมถึงพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในพื้นที่เป้าหมายต่อไป
กลุ่มเจ๊ะบิลังซิตี้ ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยการออกกำลังกาย กระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายและเป็นการปลูกฝังค่านิยมที่ดีให้แก่เด็กในเรื่องพฤติกรรมการออกกำลังกาย รวมทั้งส่งเสริมความสามัคคี ความเข้มแข็งในชุมชนและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ